Showing 1-44 of 44 items.

เป้าหมายตาม Policy Mapping ปีงบประมาณ 2569::

#ยุทธศาสตร์ 9ด้าน 9ดี 28 ประเด็นพัฒนาฯSUPER_OKRKEY RESULT (2569)หน่วยนับค่าเป้าหมายฯ (69)หน่วยงาน HostActions
1สุขภาพดีพัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล5.4.1 จำนวนนวัตกรรมที่ใช้ในการรักษาพยาบาลจำนวน Excellent Center/ศูนย์เวชศาสตร์เขตเมือง ที่สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทของพื้นที่ และแนวโน้มของการเกิดโรคศูนย์2สำนักการแพทย์
2สุขภาพดีพัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล5.4.1 จำนวนนวัตกรรมที่ใช้ในการรักษาพยาบาลร้อยละของประชาชนในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health zone ลงทะเบียนเข้าใช้บริการศูนย์สอบถามปัญหาสุขภาพ Call Center (จำนวนประชาชนที่ใช้บริการ call center (อัตราส่วนเพิ่มมากขึ้น))ร้อยละ30สำนักการแพทย์
3สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.1 เพิ่มจ้านวน ศบส. พลัสจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ยกระดับเป็นศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพแห่ง2สำนักอนามัย
4สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.1 เพิ่มจ้านวน ศบส. พลัสจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขพลัสเพิ่มขึ้นแห่ง (สะสม)6 (สะสม 27)สำนักอนามัย
5สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.1 เพิ่มจ้านวน ศบส. พลัสระยะเวลาการรอคอยเฉลี่ยสำหรับการรับบริการหรือพบแพทย์ในกลุ่มโรค NCDsนาที40สำนักอนามัย
6สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.1 เพิ่มจ้านวน ศบส. พลัสร้อยละของประชาชนที่รับบริการ ศบส. พลัส ต่อประชาชนที่ใช้บริการแล้วกลับบ้านโดยที่ไม่ต้องไปโรงพยาบาล (ในกลุ่มผู้ป่วยโรคที่มีภาวะที่กำหนด)ร้อยละ95สำนักอนามัย
7สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.1 เพิ่มจ้านวน ศบส. พลัสร้อยละของผู้มีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนกายอุปกรณ์ได้รับการสนับสนุน (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก)ร้อยละ95สำนักอนามัย
8สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉินระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน (Basic)นาทีไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้าสำนักการแพทย์
9สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉินระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง (Advance)นาทีไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้าสำนักการแพทย์
10สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉินระยะเวลาในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดย Motorlanceนาทีภายใน 8สำนักการแพทย์
11สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉินร้อยละของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการฝึกทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการฟื้นคืนสัญญาณชีพ (CPR)ร้อยละ100สำนักการแพทย์
12สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉินร้อยละของพื้นที่สาธารณะของกรุงเทพมหานครได้รับการติดตั้งเครื่อง AED และมีการตรวจสอบให้พร้อมใช้งาน - ร้อยละของพื้นที่สาธารณะของกรุงเทพมหานครได้รับการติดตั้งเครื่อง AED - ร้อยละของเครื่อง AED ที่ติดตั้งได้รับการตรวจสอบให้พร้อมใช้งาน ร้อยละ100สำนักการแพทย์
13สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.3 อัตราส่วนของการใช้ Teleconsult แล้วไม่ต้องส่งต่อร้อยละของศูนย์บริการสาธารณสุขสามารถใช้ระบบ Teleconsult ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุข และโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ได้ (not set)100สำนักอนามัย
14สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน19. ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร โดยมีมูลค่าเงินที่เบิกจ่าย ในทุกกลุ่มเป้าหมาย (ร้อยละของเงินที่ได้รับอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครเมื่อเทียบกับวงเงินที่ได้รับจัดสรร)ร้อยละ80สำนักอนามัย
15สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงจำนวนชมรมผู้สูงอายุ และจำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้น (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากปีที่ผ่านมา)ชมรม, คน45 (3,800)สำนักอนามัย
16สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงจำนวนผู้รับบริการตรวจเชิงรุกจาก Commulance (not set)18000สำนักอนามัย
17สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 (1)ร้อยละ96สำนักอนามัย
18สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 (2)ร้อยละ96สำนักอนามัย
19สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 (4)ร้อยละ10สำนักอนามัย
20สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 (5)ร้อยละ10สำนักอนามัย
21สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 (6)ร้อยละ10สำนักอนามัย
22สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ10-10-10 (3)ร้อยละ98สำนักอนามัย
23สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงร้อยละของชุมชนจัดตั้งใน กทม. ได้รับบริการเชิงรุกจากสำนักอนามัยร้อยละ100สำนักอนามัย
24สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงร้อยละของผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต (Counseling) เพิ่มขึ้น (จำนวนผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต (Counseling))ร้อยละ5สำนักอนามัย
25สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนจำนวนผู้เข้ารับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดบ้านพิชิตใจ - ให้บริการแบบผู้ป่วยใน - ให้บริการแบบผู้ป่วยนอกคน600(ผู้ป่วยใน 300ผู้ป่วยนอก 300)สำนักอนามัย
26สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนจำนวนศูนย์รับเลี้ยงเด็กอ่อนที่เปิดรับเด็กอายุตั้งแต่ 3 เดือน - 3 ปีแห่ง1 (สะสม)สำนักอนามัย
27สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนจำนวนสุนัขที่ได้รับการฉีดไมโครชิปและ/หรือจดทะเบียนสุนัขในกรุงเทพมหานครตัว10,000สำนักอนามัย
28สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนจำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่ายตัว175,000สำนักอนามัย
29สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนจำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่ายตัว45,000สำนักอนามัย
30สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่ดำเนินการเปลี่ยนสัตว์จรเป็นสัตว์ชุมชน(not set)100สำนักอนามัย
31สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยงและเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติดไม่เกิน ร้อยละ14สำนักอนามัย
32สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนร้อยละของผู้ที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพทางสังคมร้อยละ10สำนักอนามัย
33สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ระบวนการบำบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)ร้อยละ62สำนักอนามัย
34สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนร้อยละของสุนัขในศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการอุปการะจากจำนวนสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะที่กำหนดร้อยละ10สำนักอนามัย
35สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.1 สัดส่วนการเข้ารับบริการตรวจรักษา/พบแพทย์ ด้วยระบบโทรเวชกรรม Telemedicine ต่อผู้รับบริการสัดส่วนการเข้ารับบริการทางการแพทย์ด้วยระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine)ร้อยละ10สำนักการแพทย์
36สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพจำนวนเตียงที่บริการประชาชนเพิ่มขึ้น (ดำเนินการเพื่อสนับสนุนอัตราส่วนเตียงต่อประชากรในกทมเพิ่มมากขึ้น)เตียง120สำนักการแพทย์
37สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลนอกสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการส่งต่อภายในเวลา 30 นาทีร้อยละ100สำนักอนามัย
38สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการส่งต่อภายในเวลา 15 นาทีร้อยละ100สำนักการแพทย์
39สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องการเยี่ยมบ้านหรือการดูแลแบบประคับประคองได้รับการพยาบาลอย่างต่อเนื่องที่บ้านร้อยละ100สำนักอนามัย
40สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.3 การเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ Bangkok Health Zoningจำนวนร้านขายยาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อบริการจ่ายยาผู้ป่วยแห่ง40สำนักการแพทย์
41สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาลที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.3 การเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ Bangkok Health Zoningร้อยละของจำนวนคลินิกชุมชนอบอุ่นในเขตพื้นที่ กทม. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายส่งต่อผู้ป่วยผ่านระบบ e - Referral (การเชื่อมระบบการส่งตัวและข้อมูลผู้ป่วยจากเครือข่ายปฐมภูมิคลินิกอบอุ่นร้านยามาตรฐานไปยังศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาล)ร้อยละ60สำนักการแพทย์
42สุขภาพดี(not set)5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลงอัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ (Super OKR 5.1.2)(not set)100สำนักอนามัย
43สุขภาพดี(not set)5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชนสภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน (Super OKR 5.1.3)(not set)100สำนักอนามัย
44สุขภาพดี(not set)5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ (Super OKR 5.3.2)(not set)100สำนักอนามัย