แสดงผลการวิเคราะห์โครงการฯ : รายการที่ 9

รหัส9
รหัสโครงการ438
ผลการวิเคราะห์
วันที่วิเคราะห์โครงการฯ(not set)
ชื่อโครงการฯโครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทุจริต ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2567 - 2569)
หน่วยงาน04020000
ปีงบประมาณ2569
ส่วนราชการ04020500
งบประมาณฯ0
ก. ลักษณะของโครงการ2
ข. ประเภทของโครงการ4
กองยุทธศาสตร์...(not set)
เห็นควร :: บรรจุเป็นโครงการตามแผนปฏิบัติราชการ ระดับ กทม./หน่วยงาน...1
เริ่มต้น ปีงบประมาณ2567
สิ้นสุด ปีงบประมาณ2569
1. ความสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 –2580)5
1.1 ยุทธศาสตร์ด้าน...6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
1.2 ประเด็นหลัก...6.6 ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
1.3 ประเด็นย่อย...6.6.2 บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต
2. ความสอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ0
2.1 หมุดหมายที่...(not set)
2.2 เป้าหมายที่...(not set)
2.3 ตัวชี้วัดที่...(not set)
3. ความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล10
3.1 เรื่อง...การดำเนินงานที่อยู่บนพื้นฐานของความถูกต้อง โปร่งใสและตรวจสอบได้ สอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยงข้อง
4. ความสอดคล้องกับ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร15
4.1 นโยบาย...โปร่งใส ไม่ส่วย
5. ความสอดคล้องกับ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี5
5.1 ยุทธศาสตร์ที่...ยุทธศาสตร์ที่ ๗ – การสร้างความเป็นมืออาชีพในการบริหารจัดการมหานคร
5.2 เป้าประสงค์ที่...7.3.1 การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสมกับการบริหารมหานครและเป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม
5.3 กลยุทธ์ที่...7.3.1.3 ส่งเสริมด้านคุณธรรมความโปร่งใสในการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลและส่งเสริมให้กรุงเทพมหานครมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น
6. ความสอดคล้องกับ แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี10
6.1 ยุทธศาสตร์ที่...โปร่งใสดี
6.2 ประเด็นการพัฒนา (Objective) ...3.3.1 หน่วยงานของกรุงเทพมหานครผ่านการ ประเมินด้านความโปร่งใสและปลอดการทุจริต ในระดับสูงสุดขององค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง
6.3 ตัววัดผลหลัก (OKR ย่อย) ...(not set)
[1.1] ความจำเป็นพื้นฐานของโครงการ (พิจารณาจากผลที่จะได้รับหรือผลกระทบในทางที่ดีทั้งทางตรงและทางอ้อมที่จะเกิดขึ้นกับกรุงเทพมหานคร ประชาชน สังคมหรือกลุ่มเป้าหมาย)3
[1.2] ความเร่งด่วนของโครงการ (พิจารณาจากระดับความรุนแรงของสถานการณ์หรือสภาพปัญหาที่จะเพิ่มขึ้น ณ สถานการณ์ขณะนั้น หากไม่ได้ดำเนินโครงการจะก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างมากต่อประชาชนและการพัฒนากรุงเทพมหานคร หรือมีกฎหมายที่บังคับให้ต้องดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด)3
[2.1] โครงการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาสังคมหรือยกระดับคุณภาพชีวิต (พิจารณาจากประโยชน์ของการดำเนินงานโครงการ)2
[2.2] การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (พิจารณาการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน ภาครัฐ หน่วยงานภายใน กทม. ที่จะช่วยเป็นแรงสนับสนุนและเพิ่มพูนผลกระทบทางบวกของโครงการ) 4
[2.3] โครงการไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางสังคมในเชิงลบ (ผลกระทบเชิงลบ เช่น สูญเสียงานที่เคยทำ สูญเสียที่ดิน บ้านเรือน บริการทางสังคมที่เคยได้รับ และสูญเสียวิถีการดำเนินชีวิต ฯลฯ) 4
[3.1] การวิเคราะห์ผลตอบแทนของโครงการ กรณีโครงการที่มีผลตอบแทนที่วัดเป็นตัวเงินได้ (พิจารณาจากการมีผลการวิเคราะห์ผลประโยชน์หรือผลตอบแทนที่จะได้รับ เปรียบเทียบกับเงินลงทุน เช่น ระยะเวลาคืนทุน (PB) มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน (B/C) อัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (EIRR) ฯลฯ) 0
[3.2] การวิเคราะห์ผลตอบแทนของโครงการ กรณีโครงการที่วัดเป็นตัวเงินไม่ได้ (พิจารณาจากผลลัพธ์ของโครงการส่งผลประโยชน์ทางอ้อมต่อกลุ่มเป้าหมายได้ เช่น การเพิ่มรายได้/ลดต้นทุนของกลุ่มเป้าหมาย เพิ่มการจ้างงาน การคืนผลประโยชน์สู่สังคม ฯลฯ)0
[4.1] ความสอดคล้องของโครงการ (พิจารณาจากความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลประโยชน์ที่ได้รับ ผู้รับผิดชอบ และผู้รับผลประโยชน์จากโครงการและกิจกรรม)4
[4.2] แผนปฏิบัติการโครงการ (พิจารณาขั้นตอนการดำเนินงาน โดยแสดงรายละเอียดกิจกรรมที่ต้องดำเนินการอย่างชัดเจนตามลำดับตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการจนสิ้นสุดการดำเนินโครงการ) 4
[4.3] การบริหารงบประมาณ (พิจารณาแหล่งที่มาของงบประมาณทุกแหล่งงบประมาณ หมวดรายจ่ายงบประมาณ และรายละเอียดค่าใช้จ่ายของโครงการ กรณีโครงการต่อเนื่องงบประมาณครั้งแรกเริ่มที่ปีงบประมาณใด ในปีต่อมา ก็ต้องระบุวงเงินงบประมาณที่ได้รับแต่ละปีด้วย)0
[4.4] การติดตามประเมินผลโครงการ (พิจารณาจากตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการที่สามารถวัดได้ทั้งระดับผลผลิตและผลลัพธ์ ซึ่งวิธีการประเมินผลสำเร็จของการดำเนินโครงการตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ เช่น วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีในการประมวลผล วิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่กำหนด เป็นต้น เพื่อประเมินความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ประเภทต่าง ๆ ) 4
[4.5] การบริหารจัดการความเสี่ยงโครงการ (พิจารณาจากการแนวทางในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะช่วยให้การดำเนินโครงการมีความราบรื่นมาก ขึ้น)4
[5.1] ความพร้อมของสถานที่ดำเนินโครงการหรือที่ดิน (พิจารณาจากความพร้อมของสถานที่ว่ามีกระบวนการดำเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินดังกล่าว เช่น ขั้นตอนการขออนุญาตใช้ที่ดินจากหน่วยงานอื่น รวมทั้งในส่วนของกฎหมาย ชุมชน สิ่งแวดล้อม และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ เช่น เส้นทางการเดินเรือคลองแสนแสบจำเป็นต้องขอความเห็นชอบจากกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคมก่อน และมีมาตรการแก้ไขปัญหาดังกล่าว หรือไม่ อย่างไร)0
[5.2] แบบและรายละเอียดประกอบ (โครงการที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างหรือโครงการทางด้านวิศวกรรมจะต้องพิจารณาความสมบูรณ์ของแบบและรายละเอียดประกอบด้วยว่ามีครบถ้วนหรือไม่ และต้องมีพร้อมที่จะดำเนินการ)0
[6.1.1] มีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (พิจารณาจากผลการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) หรือรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการ กิจการหรือการดำเนินการที่อาจมีผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนอย่างรุนแรง (EHIA) ของคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณารายงานฯ) 0
[6.1.2] โครงการที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (พิจารณาจากรายละเอียดการดำเนินโครงการที่กำหนดรายละเอียดที่แสดงถึงการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีความเป็นไปได้ตามมาตรการ MITIGATION และ ADAPTATION ที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ)0
[6.2.1] มีมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (พิจารณาจากมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ก่อน/ระหว่าง/หลังดำเนินการ) สำหรับโครงการ ตามที่กฎหมายควบคุมอาคาร/กฎหมายสิ่งแวดล้อมกำหนด เช่น มาตรการควบคุมฝุ่นละอองจากการก่อสร้าง ฯลฯ)0
[6.2.2] โครงการที่ช่วยส่งเสริมสนับสนุนการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (พิจารณาจากรายละเอียดการดำเนินโครงการที่กำหนดรายละเอียดที่แสดงถึงการลดผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีความเป็นไปได้ตามมาตรการ MITIGATION และ ADAPTATION ที่สอดคล้องกับแผนแม่บทของกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ)0
[7.1] ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยงโครงการ : การบริหารจัดการความเสี่ยงโครงการ (พิจารณาจากการแนวทางในการจัดการกับปัจจัยเสี่ยงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อันจะช่วยให้การดำเนินโครงการมีความราบรื่นมากขึ้น)0
Created วัน/เดือน/ปี08-06-2024 15:49:15
Update วัน/เดือน/ปี(not set)
Created ผู้วิเคราะห์ฯ..bmaadmins
Update ผู้วิเคราะห์ฯ..(not set)
ผู้วิเคราะห์ฯ..(not set)