ข้อมูลโครงการ :: โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย กิจกรรมที่ 1 การเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคและการปนเปื้อนสารพิษของอาหารและน้ำ

รายละเอียดโครงการ

Showing 1-1 of 1 item.
Fileชื่อโครงการ/กิจกรรมงบประมาณฯความคืบหน้าฯหน่วยงานที่รับผิดชอบส่วนราชการ/ฝ่าย
โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย กิจกรรมที่ 1 การเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงการระบาดของโรคและการปนเปื้อนสารพิษของอาหารและน้ำ12,259,500.00100.00สำนักอนามัยกองสุขาภิบาลอาหาร

KRs/KPI ที่เกี่ยวข้อง

Showing 1-2 of 2 items.
ActionKEY_RESULTหน่วยนับค่าเป้าหมายผลการดำเนินงานความคืบหน้าของ KPI (%)
-KPI 1.5.2.4 : ตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ และในกรณีที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขร้อยละ100.00100.00100.00
-J สนอ. (1.1.3) : ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมระดับ5.000.000.00

** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **

Showing 1-20 of 22 items.
วันที่รายงานผลการดำเนินงานPhotoREPORT_NOTEเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวข้องฯ
29-12-20230.00ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนต.ค. - พ.ย. 66 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 12,530 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 12,524 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.95) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน จำนวน 6 ตัวอย่าง และได้รับการแก้ไขแล้ว ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
18-01-20240.00ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนต.ค. - ธ.ค. 66 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 18,635 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 18,624 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.94) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน จำนวน 11 ตัวอย่าง และได้รับการแก้ไขแล้ว ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
31-12-20230.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 22,711 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 1,864 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.21 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจายังไม่อยู่ในเกณฑ์วัดผลการดำเนินงานที่กำหนด (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 1 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20)
16-02-20240.00ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนต.ค. 66 - ม.ค. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 26,161 ตย. ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 26,129 ตย. (99.88%) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน และได้รับการแก้ไขแล้ว จำนวน 18 ตย. (0.07%) ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.95
17-03-20240.00ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารระหว่างเดือนต.ค.66 - มี.ค. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้นจำนวน 35,010 ตย. ไม่พบการปนเปื้อนจำนวน 34,857 ตย.(99.56%) พบการปนเปื้อนจำนวน 153 ตย. (0.44%) ได้รับการแก้ไขแล้ว 21 ตย. (0.06%) ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.62
17-03-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 23,451 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 5,407 ราย คิดเป็นร้อยละ 23.05 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจาจึงอยู่ในระดับ 1 (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 1 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20)
13-06-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 23,478 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 9,732 ราย คิดเป็นร้อยละ 41.45 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจาจึงอยู่ในระดับ 3 (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 3 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 40)
13-06-20240.001. ผลตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 5 ชนิด (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิ.ย. 67) สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ จำนวน 2,783 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 2,349 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 84.41 พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 434 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 15.59 ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและตรวจไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 166 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คิดเป็นร้อยละ 90.37 2. ผลการตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ระหว่างเดือนต.ค. 66 - เดือนพ.ค. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 56,722 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 56,695 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.95) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 27 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.05) ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 27 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปจำนวนตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ และในกรณีที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไข โดยตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 59,505 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 59,044 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.23) พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 461 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.77) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 193 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.55 (59,237 ตัวอย่าง)
20-08-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 23,231 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 13,859 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.66 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจาจึงอยู่ในระดับ 4 (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 4 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 50)
30-09-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 22,631 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 19,033 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.10 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจาจึงอยู่ในระดับ 5 (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 5 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 60)
15-01-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 22,882 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 3,019 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.19 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจายังไม่อยู่ในเกณฑ์วัดผลการดำเนินงานที่กำหนด (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 1 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20)
11-04-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 23,549 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 7,183 ราย คิดเป็นร้อยละ 30.50 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจาจึงอยู่ในระดับ 2 (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 2 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 30)
21-05-20240.001. ผลตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 5 ชนิด (ข้อมูล ณ วันที่ 14 พ.ค. 67) สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ จำนวน 2,102 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 1,743 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 82.92 พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 359 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 17.08 ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและตรวจไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 107 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คิดเป็นร้อยละ 88.01 2. ผลการตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ระหว่างเดือนต.ค. 66 - เดือนเม.ย. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 49,263 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 49,237 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.95) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 26 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.05) ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 26 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปจำนวนตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ และในกรณีที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไข โดยตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 51,365 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 50,980 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.25) พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 385 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.75) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 133 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.51
21-05-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 23,510 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 8,935 ราย คิดเป็นร้อยละ 38.01 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจาจึงอยู่ในระดับ 2 (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 2 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 30)
11-04-20240.001. ผลตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 5 ชนิด (ข้อมูล ณ วันที่ 5 เม.ย. 67) สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ จำนวน 1,648 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 1,362 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 82.65 พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 286 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 17.35 ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและตรวจไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คิดเป็นร้อยละ 84.65 2. ผลการตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ระหว่างเดือนต.ค. 66 - เดือนมี.ค. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 46,282 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 46,257 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.95) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.05) ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปจำนวนตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ และในกรณีที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไข ระหว่างเดือนต.ค. 66 - เดือนเม.ย. 67 มีการสุ่มตัวอย่างอาหารวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 47,930 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 47,619 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.35) พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 311 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.65) โดยตัวอย่างที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 58 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.47
16-02-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 23,122 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 4,506 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.49 ดังนั้น ผลการดำเนินงานยังไม่อยู่ในเกณฑ์วัดผลการดำเนินงานที่กำหนด (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 1 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20)
24-07-20240.001. ผลตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 5 ชนิด (ข้อมูล ณ วันที่ 10 ก.ค. 67) สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ จำนวน 3,000 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 2,527 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 84.23 พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 473 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 15.77 ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและตรวจไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 248 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คิดเป็นร้อยละ 92.50 2. ผลการตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ระหว่างเดือนต.ค. 66 - เดือนมิ.ย. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 63,300 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 63,273 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.96) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 27 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.04) ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 27 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปจำนวนตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ และในกรณีที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไข โดยตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 66,300 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 65,800 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.25) พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 500 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.75) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 275 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.66 (66,075 ตัวอย่าง)
20-08-20240.00 1. ผลตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 5 ชนิด (ข้อมูล ณ วันที่ 10 ส.ค. 67) สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ จำนวน 3,000 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 2,527 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 84.23 พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 473 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 15.77 ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและตรวจไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 322 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คิดเป็นร้อยละ 94.97 2. ผลการตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ระหว่างเดือนต.ค. 66 - เดือนก.ค. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 70,323 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 70,290 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.95) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.05) ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปจำนวนตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ และในกรณีที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไข โดยตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 73,323 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 72,817 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.31) พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 506 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.69) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 355 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.79 (73,172 ตัวอย่าง)
17-09-20240.00จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้งทั้งหมด 22,773 ราย มีการผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) จำนวน 18,338 ราย คิดเป็นร้อยละ 80.53 ดังนั้น ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเจรจาจึงอยู่ในระดับ 5 (เกณฑ์วัดผลการดำเนินงาน : ระดับ 5 >> ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครด้านบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 60)
17-09-20240.001. ผลตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 5 ชนิด (ข้อมูล ณ วันที่ 10 ส.ค. 67) สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ จำนวน 3,000 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 2,527 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 84.23 พบการปนเปื้อนเชื้อโรค จำนวน 473 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 15.77 ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและตรวจไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 473 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค คิดเป็นร้อยละ 100 2. ผลการตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้นเพื่อหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ระหว่างเดือนต.ค. 66 - เดือนส.ค. 67 สุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 79,929 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 79,896 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.96) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.04) ซึ่งตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปจำนวนตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ และในกรณีที่พบการปนเปื้อนได้รับการแก้ไข โดยตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 82,929 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 82,423 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.39) พบการปนเปื้อนเชื้อโรค และสารพิษ จำนวน 506 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.61) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 506 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 (82,929 ตัวอย่าง)

ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม

Showing 1-12 of 12 items.
ลำดับขั้นตอน/รายละเอียดงานร้อยละของงานความคืบหน้าเริ่มต้นวันที่สิ้นสุดวันที่
11.จัดสรรชุดทดสอบ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สำนักงานเขตตามเป้าหมายที่กำหนด เป็นรายไตรมาสที่ 1 2.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร4.004.0001-10-232331-10-2323
21.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 2.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 3.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร5.509.5001-11-202330-11-2023
31.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 4.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร7.5017.0001-12-202331-12-2023
41.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้นและอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 4.จัดสรรชุดทดสอบ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สำนักงานเขตตามเป้าหมายที่กำหนด เป็นรายไตรมาสที่ 2 5.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร9.0026.0001-01-202431-01-2024
51.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 4.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร7.5033.5001-02-202429-02-2024
61.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 4.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร7.5041.0001-03-202431-03-2024
71.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 4.จัดสรรชุดทดสอบ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สำนักงานเขตตามเป้าหมายที่กำหนด เป็นรายไตรมาสที่3 5.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร10.0051.0001-04-202430-04-2024
81.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 4.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร7.5058.5001-05-202431-05-2024
91.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จ้างจัดทำเสื้อเครื่องแบบ (เสื้อกาวน์) พร้อมปักเครื่องหมายตราสัญลักษณ์ สำหรับเจ้าหน้าที่ใส่ปฏิบัติงาน 4.จัดสรรเสื้อกาวน์ให้กับสำนักงานเขตตามเป้าหมายที่กำหนด 5.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร12.5071.0001-06-202430-06-2024
101.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.จัดสรรชุดทดสอบ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สำนักงานเขตตามเป้าหมายที่กำหนด เป็นรายไตรมาสที่ 4 4.จัดสรรเสื้อกาวน์ให้กับสำนักงานเขตตามเป้าหมายที่กำหนด 5.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร10.0081.0001-07-202431-07-2024
111.จ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ 2.จัดซื้อชุดทดสอบเบื้องต้น และอุปกรณ์ สำหรับตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนในอาหารและน้ำ 3.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร6.5087.5001-08-202431-08-2024
121.รวบรวมผลการดำเนินงานของ 50 สำนักงานเขตและกองสุขาภิบาลอาหาร 2.สรุปผลการดำเนินงาน12.50100.0001-09-202430-09-2024

** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **

Showing 1-12 of 12 items.
วันที่รายงานผลการดำเนินงานREPORT_NOTE
29-12-20234.00(not set)
29-12-20239.50(not set)
17-09-2024100.00(not set)
29-12-202317.00(not set)
18-01-202426.00(not set)
22-02-202433.50(not set)
17-03-202441.00(not set)
11-04-202451.00(not set)
20-05-202458.50(not set)
13-06-202471.00(not set)
24-07-202481.00(not set)
22-08-202487.50(not set)