Showing 1-49 of 49 items.

โครงการตามแผนปฏิบัติราชการ กทม. ปี 2569

#ยุทธศาสตร์ 9ด้าน 9ดี 28 ประเด็นพัฒนาฯSUPER OKRจำนวนโครงการฯงบประมาณฯ (ลบ.)ความคาดหวังของประชาชน (ประเมิน Impact)
1เดินทางดีเดินได้ เดินดี1.1.1 ระยะทางเท้าที่ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับการเดิน1118,568,293,000.00ประชาชนสามารถเดินทางสัญจรด้วยการเดินเท้า ทางจักรยาน หรือวีลแชร์ บนทางเท้า ด้วยความสะดวก คล่องตัวและปลอดภัย
2เดินทางดีเพิ่มความคล่องตัวการเดินทาง1.2.1 ความเร็วเฉลี่ยของการเดินทางบนถนนในเส้นทางกรุงเทพชั้นในเพิ่มขึ้น425,368,205,000.00ประชาชนใช้เวลาบนถนนเพื่อการเดินทางลดลง สามารถเดินทางไปถึงจุดหมายได้เร็วขึ้น
3เดินทางดีส่งเสริมการใช้ระบบขนส่งสาธารณะและเพิ่มทางเลือกในการเดินทาง1.3.1 จำนวนผู้ใช้บริการในระบบขนส่งสาธารณะเพิ่มขึ้น16642,429,800.00ประชาชนสามารถเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะทุกประเภทได้อย่างสะดวกสบายในทุกพื้นที่ และสามารถเดินทางจากสถานีขนส่งมวลชนไปสู่จุดหมายปลายทาง (Last mile) ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
4เดินทางดีป้องกันและแก้ปัญหาน้ำท่วม1.4.1 ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสาธารณะ11118,098,570,450.00ลดผลกระทบจากน้ำท่วมขังในเส้นทางสัญจรและการดำเนินชีวิตของประชาชน
5ปลอดภัยดีแก้ไขจุดเสี่ยงภัยและอาชญากรรม2.1.1 กรุงเทพมหานครมีการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เกิดความปลอดภัย16311,614,455,050.00ประชาชนเข้าถึงความปลอดภัยได้ดียิ่งขึ้น เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงทุกรูปแบบ
6ปลอดภัยดีเพิ่มทรัพยากร ทักษะ และข้อมูลความปลอดภัยชุมชน2.2.1. จำนวนเขตที่ได้รับการจัดสรรทรัพยากรครบทุกพื้นที่ ตามการวิเคราะห์ข้อมูลความเสี่ยง242,076,820,000.00 ลดและแก้ไขปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ทาให้เกิดความกลัวและความเส่ียง อาชญากรรม
7ปลอดภัยดีเพิ่มทรัพยากร ทักษะ และข้อมูลความปลอดภัยชุมชน2.2.2 ร้อยละของชุมชนฝึกซ้อมแผนเผชิญ เหตุครบทุกความเสี่ยง21275,500.00(1) ลดและแก้ไขปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดความกลัวและความเสี่ยง อาชญากรรม (2) เพิ่มประสิทธิภาพในการคาดการณ์ ติดตาม และแก้ไขหรือระงับการเกิดเหตุ อาชญากรรม
8ปลอดภัยดีเพิ่มทรัพยากร ทักษะ และข้อมูลความปลอดภัยชุมชน2.2.3 ร้อยละของประชาชนเข้าถึงข้อมูล ความเสี่ยงและระบบเตือนภัยทุกประเภท118,372,100.00ลดความเสียหายและความสูญเสียให้กับประชาชน ได้ทักษะและรู้ข้ันตอนการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดสาธารณภัย ได้เตรียมความพร้อมรับมือล่วงหน้าเพื่อลดผลกระทบ จากการเกิดสาธารณภัย
9ปลอดภัยดีสร้างระบบเครือข่ายในพื้นที่จัดการสาธารณภัย2.3.1 จำนวนเขตที่มีการบริหารจัดการ ระบบทรัพยากรเครือข่าย14116,028,550.00(1) ลดความเสียหายและความสูญเสียให้กับประชาชน (2)ได้ทักษะและรู้ข้ันตอนการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดสาธารณภัย
10ปลอดภัยดีสร้างระบบเครือข่ายในพื้นที่จัดการสาธารณภัย2.3.2 ร้อยละของการฝึกซ้อมระบบสนธิก้าลัง (ประสานงานพหุภาคี) ครบทุก แผนปฏิบัติการสาธารณภัย198,926,900.00(not set)
11โปร่งใสดีรายงานปัญหาโดยประชาชน แก้ปัญหาโดย กทม. ผ่านแพลตฟอร์ม Traffy Fondue3.1.1 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยในการแก้ไข ปัญหา (แจกแจงรายหน่วยงาน)60.00ได้รับการแก้ไขปัญหาด้วยความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
12โปร่งใสดีรายงานปัญหาโดยประชาชน แก้ปัญหาโดย กทม. ผ่านแพลตฟอร์ม Traffy Fondue3.1.2 ร้อยละของเรื่องทังหมดที่แจ้งผ่าน Traffy Fondue ได้รับการแก้ไข140.00ได้รับการแก้ไขปัญหาด้วยความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
13โปร่งใสดีเผยแพร่ข้อมูล เปิดเผยการจัดซื้อจัดจ้าง ขออนุญาตบริการออนไลน์ (Open Bangkok)3.2.1 คะแนนความพึงพอใจของประชาชน ต่อการให้บริการสาธารณะและการเปิดเผย ข้อมูลภาครัฐผ่านระบบออนไลน์2191,326,575.00กรุงเทพมหานครเป็นมหานครเปิด (Open Government) ด้วยการเปิดเผยข้อมูล เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมและสามารถตรวจสอบการทางาน เพื่อป้องกัน การทุจริตคอร์รัปชัน และสร้างมหานครที่เป็นของ “ทุกคน”
14โปร่งใสดียกระดับความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริตกับองค์กรที่เกี่ยวข้อง3.3.1 หน่วยงานของกรุงเทพมหานครผ่านการ ประเมินด้านความโปร่งใสและปลอดการทุจริต ในระดับสูงสุดขององค์กรภาคีที่เกี่ยวข้อง82,397,950.00ความโปร่งใส เช่น การขอใบอนุมัติ อนุญาตใบรับรองต่างๆ ไม่มีการร้องขอเงิน หรือเรียกรับ ผลประโยชน์ ความโปร่งใสของโครงการสาธารณะขนาดใหญ่ การใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัด จ้างมีความโปร่งใส เปิดเผย ตรวจสอบได้
15สิ่งแวดล้อมดีเพิ่มพื้นที่สีเขียว ต้นไม้4.1.1 มีพื้นที่สีเขียว 9 ตารางเมตร ต่อคน6681,600,000.00• ได้พื้นที่สีเขียวร่มเงาในเมือง และก้าแพงกรองฝุ่น • ได้พื้นที่สาธารณะที่ท้ากิจกรรมได้กระจายตัวอยู่ทุกที่และ สามารถเข้าถึงได้ด้วยการเดินภายใน 15 นาที
16สิ่งแวดล้อมดีเพิ่มพื้นที่สีเขียว ต้นไม้4.1.2 พืนที่สีเขียวเข้าถึงได้ในเวลา 15 นาที3476,676,550.00ได้พื้นที่สีเขียวร่มเงาในเมือง และก้าแพงกรองฝุ่น ได้พื้นที่สาธารณะที่ท้ากิจกรรมได้กระจายตัวอยู่ทุกที่และ สามารถเข้าถึงได้ด้วยการเดินภายใน 15 นาที
17สิ่งแวดล้อมดีจัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย4.2.1 ปริมาณขยะลดลงและไม่มีขยะตกค้าง1116,689,844,140.00สภาพแวดล้อมเมืองสะอาด สวยงาม การคัดแยกและ การจัดเก็บขยะท้าได้สะดวกรวดเรว็ ไม่มีขยะตกค้าง และไม่มีแหล่งเพาะเชือโรคหรือพาหะที่ส่งผลต่อสุขภาพ คนเมือง
18สิ่งแวดล้อมดีจัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย4.2.2 คลองในพื้นที่บริการบำบัดน้าเสียของ กรุงเทพมหานครมีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน214,600,000.00แหล่งน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร สะอาด ปลอดภัย คุณภาพน้ำได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด
19สิ่งแวดล้อมดีจัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย4.2.3 จำนวนวันที่ฝุ่น PM2.5 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อย กว่า 300 วัน/ปี23436,946,800.00(not set)
20สิ่งแวดล้อมดีจัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย4.2.4 การปล่อยก๊าซเรือนกระจกของหน่วยงาน กรุงเทพมหานครลดลง55,329,100.00แหล่งก้าเนิดมลพิษทางอากาศได้รับการควบคุม เพื่อให้ คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
21สิ่งแวดล้อมดีจัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย4.2.5 กรุงเทพมหานครส่งเสริมนวัตกรรมลดการใช้ พลังงานลง ร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับปีฐาน36,094,563,508.00เมืองมีแผนรองรับเพื่อลดผลกระทบจากการปล่อยก๊าซเรือน กระจกและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
22สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน289,597,152.00 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิ และเครือข่ายสาธารณสุข เพ่ิมประสิทธิภาพการเข้าถึง การรักษาพยาบาลท่ีเช่ือมโยงไร้รอยต่อ พัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล
23สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง2721,604,658.00ประชาชนได้รับการคัดกรองป้องกันและรักษาโรคอยา่งมีประสิทิธิภาพ สามารถเข้าถึงกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร(สปสช.) เพื่อมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพชุมชนภายใต้สภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง
24สุขภาพดีสนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน4850,754,715.00(not set)
25สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.1 เพิ่มจำนวน ศบส. พลัส10930,495,000.00ประชาชนได้รับการวินิจฉัยโรคด้วยแพทยเ์ฉพาะทางผ่านสถานพยาบาลใกล้บ้าน ที่มีประสิทธิภาพและได้รับบริการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธภาพและรวดเร็ว
26สุขภาพดียกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน687,164,000.00ประชาชนได้รับการวินิจฉัยโรคด้วยแพทยเ์ฉพาะทางผ่านสถานพยาบาลใกล้บ้าน ที่มีประสิทธิภาพและได้รับบริการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธภาพและรวดเร็ว
27สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.1 สัดส่วนการเข้ารับบริการตรวจรักษา/พบแพทย์ ด้วยระบบโทรเวชกรรม Telemedicine ต่อผู้รับบริการ10.00(not set)
28สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพ1311,325,237,700.00(not set)
29สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.3.3 การเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ Bangkok Health Zoning2105,240.00(not set)
30สุขภาพดีเพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ5.4.1 จำนวนนวัตกรรมที่ใช้ในการรักษาพยาบาล10373,292,900.00ประชาชนไดร้บัการบรกิารดา้นสาธารณสขุทงั้ในระดบัปฐมภูมแิละทุตยิภมูิ จากแพทยผ์เู้ชย่ีวชาญดว้ยนวตักรรมทจ่ีะชว่ยสง่เสรมิสุขภาพทด่ีี และป้องกนัการสญูเสยีรนุแรงในชีวิต
31เรียนดีส่งเสริมการเรียนรู้ เด็กเล็กก่อนวัยเรียน (2-6 ปี)6.1.1 เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับ การส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ ตามมาตรฐานระดับชาติ1917,709,380.00 เด็กในพืนที่ กทม. ได้รับการส่งเสริม พัฒนาการการเรียนรู้สมวัย จากโรงเรียน/ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่มีมาตรฐาน (ร้อยละเด็กในโรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานครและในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กผ่านเกณฑ์การประเมิน DSPM ร้อยละ 100)
32เรียนดีพัฒนาสวัสดิการครูและนักเรียน6.2.1 นักเรียนและบุคลากรครู เข้าถึงสวัสดิการด้านการศึกษาที่ จ้าเป็นและตามความเหมาะสม107571,923,080.00ครูในกรุงเทพมหานครท้างานอย่างมีความสุข เพื่อให้ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ๖ ร้อยละการคงอยู่ของนักเรียนและบุคลากร ทางการศึกษาไม่ต่้ากว่าที่ก้าหนด - นักเรียนร้อยละ 95 - ครูร้อยละ 90)
33เรียนดีTransform หลักสูตรและห้องเรียนดิจิทัล6.3.1 นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะ การจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ และ ได้รับการส่งเสริมความรู้ตามความ สนใจของตนเอง165993,341,460.00นักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการ จัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ที่สอดคล้องกับบริบทของ โรงเรียน และตรงตามความสนใจของตนเอง อย่างมี คุณภาพตามมาตรฐานของกรุงเทพมหานคร
34เศรษฐกิจดีเพิ่มโอกาสตลาดแรงงาน ฝึกอาชีพคนเมือง7.1.1 อัตราการว่างงานลดลง2822,970,100.00ส่งเสริมให้ประชาชนได้มีงานท้าหรอื มีทักษะในการน้าไปประกอบธุรกิจ และ ผู้ประกอบการรายย่อยไดเ้ข้าถึงระบบจัดซือจัดจ้าง
35เศรษฐกิจดีเพิ่มพื้นที่ Hawker Center ตลาดค้าขาย7.2.1 กทม.มี Hawker Center ที่ได้มาตรฐาน33159,200.00• พืนที่การค้าส้าหรับหาบเร่ที่มีการจัดการอย่างเป็นระบบ ไม่กีดขวางการสัญจร • ผู้ค้าหาบเร่เข้าถึงพืนทที่ ่ีมีการบริหารจัดการที่มนั่ คง • มีส่วนร่วมในการก้าหนดรูปแบบของการท้าพืนท่ีการค้าขายหาบเร่ ในเขตที่อยู่อาศัยและใช้ชีวิต
36เศรษฐกิจดีส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Soft Power) และเศรษฐกิจระดับย่าน7.3.1 รายได้ของผู้ประกอบการจากกิจกรรม ทางเศรษฐกิจของ กทม. เพิ่มขึ้น2977,580,860.00สร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ และประชาชนจากการจัดกิจกรรม
37เศรษฐกิจดีปักหมุดสร้างเมืองดึงดูดการลงทุนระดับโลก7.4.1 ร้อยละของรายการธุรกรรม (Transaction) ที่ศูนย์บริการนักลงทุนต่างชาติ (Expat) ด้าเนินการให้กับผู้ที่มาใช้บริการได้ส้าเร็จ25,500,000.00อ้านวยความสะดวกและให้บริการข้อมูลกับนักลงทุน และพนักงาน ทังชาวไทย และชาวต่างชาติในการด้าเนินธุรกิจและการใช้ชีวิต ในกรุงเทพมหานคร
38สังคมดีเปิดพื้นที่สาธารณะเพื่อรองรับกิจกรรมที่หลากหลาย8.1.1 ความครอบคลุมของพื้นที่สาธารณะ 15 นาที ในกรุงเทพมหานคร5478,836,550.00• ได้พืนที่สาธารณะท่ีกระจายตัวอยู่ทุกท่ีโดย ประชาชนสามารถเข้าร่วมหรือประกอบ กิจกรรมได้อย่างหลากหลายด้วยการเดินทาง เข้าถึงได้ภายใน 15 นาที • กรุงเทพมหานครเป็นพืนที่ท่ีสามารถด้ารงไว้ ซึ่งวัฒนธรรมที่สร้างความภาคภูมิใจและ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคน กรุงเทพมหานครได้
39สังคมดีเปิดพื้นที่สาธารณะเพื่อรองรับกิจกรรมที่หลากหลาย8.1.2 ผลงานทางวัฒนธรรมที่เกิดจากการสร้างสรรค์ขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร1733,217,112.00กรุงเทพมหานครเป็นพืนที่ที่สามารถดำรงไว้ซึ่งวัฒนธรรมที่สร้างความภาคภูมิใจและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับคนกรุงเทพมหานครได้
40สังคมดีสนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง8.2.1 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงสวัสดิการ ตามความจำเป็นและเหมาะสม770,397,805.00(not set)
41สังคมดีสนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง8.2.2 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงบริการที่ กรุงเทพมหานครจัดให้อย่างพอเพียงและปลอดภัย2510,395,005.00กลุ่มเปราะบางได้รับการส่งเสริม สิทธิและบริการที่กรุงเทพมหานคร จัดสรรให้ เช่น รถรับส่งคนพิการ รถเข็นส้ารับคนพิการและผู้สูงอายุ เป็นต้น
42สังคมดีสร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา8.3.1 โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง ได้รับการประเมินความยั่งยืน4253,022,400.00มีโครงการพัฒนาชุมชนที่เสริมสร้าง ความเข้มแข็งได้อย่างย่ังยืน มีการด้าเนินงานอย่างต่อเนื่อง
43สังคมดีสร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา8.3.2 ชุมชนรูปแบบพิเศษได้รับการจดจัดตังและ น้าเข้าข้อมูลชุมชน100.00ได้ข้อมูลเพื่อจัดสวัสดิการ และให้คนในชุมชนเข้าถึง ความช่วยเหลือและบริการ จากกรุงเทพมหานคร
44บริหารจัดการดีระบบงาน เงิน คน ระเบียบที่มีประสิทธิภาพ9.1.1 ร้อยละของโครงการที่ผ่านการประเมินต้นทุนและความ คุ้มค่าของการดำเนินการ33,295,375.00ประชาชนได้รับผลประโยชน์สูงสุดจากการจัดสรรงบประมาณที่มีประสิทธิภาพ
45บริหารจัดการดีระบบงาน เงิน คน ระเบียบที่มีประสิทธิภาพ9.1.2 ร้อยละของรายการ/ โครงการที่ผ่านการจัดทำ งบประมาณฐานศูนย์ ที่บรรจุในร่างข้อบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ128,237,600.00กรุงเทพมหานครมีการยกระดับศักยภาพในการ จัดการเมืองให้สามารถให้บริการประชาชนและ บริหารจัดการงานเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกรวดเร็วโปร่งใส มีความพร้อมและเอือต่อ การสร้างโอกาสทางสังคม เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต ของประชาชน
46บริหารจัดการดีระบบงาน เงิน คน ระเบียบที่มีประสิทธิภาพ9.1.3 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาหรือปรับปรุงพื้นฐาน ทางการบริหารจัดการที่นำไปสู่การใช้งานระบบ e - Office และ e-Service ของกรุงเทพมหานครที่ครบถ้วน ครอบคลุมเพื่อสนับสนุนความพร้อมและความมีศักยภาพของเมือง21516,896,617.00การให้บริการของกรุงเทพมหานครมีความสะดวก รวดเร็ว มีการบริการอย่างเท่าเทียม มีช่องรับฟังค้า ติชม ในด้านบริการ และรับแจ้งเร่ืองร้องเรียนต่างๆ ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อความสะดวกรวดเร็วมากขึน
47บริหารจัดการดีระบบงาน เงิน คน ระเบียบที่มีประสิทธิภาพ9.1.4 อัตราการคงอยู่ (Retention Rate) ของข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานคร18160,832,664.00กรุงเทพมหานครมีการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่เหมาะสม และมีระบบการบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน
48บริหารจัดการดีระบบงาน เงิน คน ระเบียบที่มีประสิทธิภาพ9.2.1 อัตราส่วนของข้อเสนอแนะในการพัฒนาและแก้ไข ปัญหาจากภาคประชาชน ถูกนำไปสู่การปฏิบัติ1195,115,504.00ประชาชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและพัฒนา เมือง และสามารถตรวจสอบการทำงานของ กรุงเทพมหานคร
49บริหารจัดการดีระบบงาน เงิน คน ระเบียบที่มีประสิทธิภาพ9.2.2 คะแนนความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานการแก้ไขปัญหาและการให้บริการของกรุงเทพมหานครในภาพรวม77612,972,189,135.00กรุงเทพมหานครเป็นมหานคร ที่บริหารจัดการ แบบร่วมมือกัน (COLLABORATIVE GOVERNANCE) เพื่อสร้างความร่วมมือในการ ทำงานของทุกภาคส่วน และเปิดโอกาสให้ “ทุกคน” เข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนาเมือง