หน้าแรก
(1) โครงการตามแผนฯ ปี 2567
(2) โครงการตามแผนฯ ปี 2568
(3) โครงการตามแผนฯ ปี 2569
(4) 50 SUPER OKR (@2569)
(5) Policy Mapping 67-69
เข้าสู่ระบบฯ
กลับหน้าหลัก
ย้อนกลับ
รายละเอียดโครงการ : โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบเหตุรำคาญเรื่องกลิ่น)
รายละเอียดโครงการ
Showing
1-1
of
1
item.
File
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
งบประมาณฯ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ส่วนราชการ/ฝ่าย
-
โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบเหตุรำคาญเรื่องกลิ่น)
353,400.00
สำนักอนามัย
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
KRs/KPI ที่เกี่ยวข้อง
Showing
1-1
of
1
item.
Action
KEY_RESULT
หน่วยนับ
ค่าเป้าหมาย
ผลการดำเนินงาน
ความคืบหน้าของ KPI (%)
-
อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)
ร้อยละ
100.00
100.00
100.00
** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **
Showing
1-7
of
7
items.
วันที่รายงาน
ผลการดำเนินงาน
Photo
REPORT_NOTE
2024-04-17 00:00:00.0000000
0.00
1. สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมดำเนินการจัดอบรมให้ข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ประเภทวิชาการ ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาล ระดับปฏิบัติการ - ชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข ระดับปฏิบัติงาน - อาวุโส สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขต และสำนักอนามัย รวมจำนวน 165 คน โดยลักษณะกิจกรรมเป็นการฝึกอบรมโดยมีการบรรยายและการแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติแบบไป – กลับ โดยจัดอบรมจำนวน 3 รุ่น (รุ่นละ 55 คน) ระยะเวลาดำเนินการ รุ่นละ 2 วัน ได้แก่ รุ่นที่ 1 วันที่ 19 - 20 มีนาคม 2567 รุ่นที่ 2 วันที่ 21 - 22 มีนาคม 2567 และรุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 มีนาคม 2567 ตั้งแต่เวลา 08.00 – 16.00น. ณ โรงแรมเดอะบาซาร์ แบงค็อก เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 2. ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้หลังการอบรม วิธีการคำนวณ (จำนวนผู้เข้ารับการอบรมที่ผ่านเกณฑ์ / จำนวนผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด x 100) = (165/165)*100 = 100 ดังนั้น ผู้เข้ารับการอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้หลังการอบรมร้อยละ 100 3. ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้ในระดับมากขึ้นไป วิธีการคำนวณ (จำนวนผู้เข้ารับการอบรมที่นำความรู้ไปพัฒนางาน/จำนวนผู้เข้ารับการอบรมที่ตอบแบบสอบถาม x 100) = (156/165)*100 = 94.5 ดังนั้น ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานได้ในระดับมากขึ้นไปร้อยละ 94.5 4. ผู้อบรมที่สามารถขึ้นทะเบียนเป็นผู้ตรวจสอบกลิ่นต้องผ่านกเกณฑ์ ดังนี้ 4.1 การประเมินความรู้หลังอบรม (Post-Test) 4.2 การทดสอบเทคนิคการใช้เครื่อง Nasal Ranger (การประกอบตัวเครื่อง) 4.3 การทดสอบเทคนิคการใช้เครื่อง Nasal Ranger (การหายใจในอัตราที่กำหนด) 4.4 การทดสอบเทคนิคการใช้เครื่อง Nasal Range (การฝึกดมกลิ่นจากตัวอย่าง) 4.5 การทดสอบการรับรู้กลิ่น (Odor Sensitivity Test) ผลการดำเนินงาน - ผู้เข้ารับการอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้หลังอบรม (Post-Test) จำนวน 165 คน - ผลการทดสอบเทคนิคการใช้เครื่อง Nasal Ranger (การประกอบตัวเครื่อง, การหายใจในอัตราที่กำหนด, การฝึกดมกลิ่นจากตัวอย่าง, Odor Sensitivity Test) จำนวน 160 คน ดังนั้น มีผู้เข้าอบรมผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดและขึ้นทะเบียนผู้ตรวจสอบกลิ่น จำนวน 160 คน คิดเป็นร้อยละ 96.7
2023-11-30 00:00:00.0000000
0.00
อยู่ระหว่างดำเนินการ
2024-02-15 00:00:00.0000000
0.00
อยู่ระหว่างดำเนินการ
2024-05-20 00:00:00.0000000
100.00
จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามโครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี สะอาด ปลอดภัย กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบเหตุรำคาญเรื่องกลิ่น เรียบร้อยแล้ว
2023-12-15 00:00:00.0000000
0.00
อยู่ระหว่างดำเนินการ
2024-03-15 00:00:00.0000000
0.00
อยู่ระหว่างดำเนินการ
2024-01-15 00:00:00.0000000
0.00
อยู่ระหว่างดำเนินการ
ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม
ลำดับ
ขั้นตอน/รายละเอียดงาน
ร้อยละของงาน
ความคืบหน้า
เริ่มต้นวันที่
สิ้นสุดวันที่
No results found.
** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **
วันที่รายงาน
ผลการดำเนินงาน
REPORT_NOTE
No results found.