รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ประชาชนมีความพึงพอใจในระดับมากต่อการมีจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับในที่สาธารณะ : 5002-0791

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 90

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 96

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
96.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำโครงการและแผนการปฏิบัติงาน กำหนดจุดจับ - ปรับ จัดทำคำสั่งมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจประจำจุดจับ-ปรับ ดังนี้ 1. บริเวณหน้าธนาคารกรุงเทพ สาขาวรจักร (หน้าตลาดวรจักร) 2. บริเวณปากซอยยมราชสุขุม อาคารล๊อกเลย์ ถนนเสือป่า ตั้งแต่เวลา 08.00 - 17.00 น. ในวันราชการปกติ พร้อมรายงานผลการปฏิบัติงานผู้บังคับบัญชาทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ประจำจุดจับ - ปรับ ดังนี้ 1.บริเวณหน้าธนาคารกรุงเทพ สาขาวรจักร (หน้าตลาดวรจักร) 2. บริเวณปากซอยยมราชสุขุม อาคารล๊อกเลย์ ถนนเสือป่า ตั้งแต่เวลา 08.00 - 17.00 น. ในวันราชการปกติ พร้อมรายงานผลการปฏิบัติงานผู้บังคับบัญชาทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ประจำจุดจับ - ปรับ ดังนี้ 1.บริเวณหน้าธนาคารกรุงเทพ สาขาวรจักร (หน้าตลาดวรจักร) 2. บริเวณปากซอยยมราชสุขุม อาคารล๊อกเลย์ ถนนเสือป่า ตั้งแต่เวลา 08.00 - 17.00 น. ในวันราชการปกติ พร้อมรายงานผลการปฏิบัติงานผู้บังคับบัญชาทราบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจ ประจำจุดจับ - ปรับ ดังนี้ 1.บริเวณหน้าธนาคารกรุงเทพ สาขาวรจักร (หน้าตลาดวรจักร) 2. บริเวณปากซอยยมราชสุขุม อาคารล๊อกเลย์ ถนนเสือป่า ตั้งแต่เวลา 08.00 - 17.00 น. ในวันราชการปกติ พร้อมรายงานผลการปฏิบัติงานผู้บังคับบัญชาทราบ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. จุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ หมายถึง สถานที่ที่สำนักงานเขตกำหนดให้เป็นจุดทิ้งจับ-ปรับ ซึ่งต้องมีเจ้าหน้าที่เทศกิจประจำอยู่ที่จุดพร้อมอุปกรณ์ประชาสัมพันธ์ (ตามหนังสือที่ กท 1403/3091 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2552 เรื่อง มาตรการทิ้งจับ-ปรับ) 2. ประชาชน หมายถึง ผู้ที่อาศัยหรือสัญจรบริเวณจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ 3. ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจหรือความรู้สึกเชิงบวกที่ประชาชนมีในระดับมากต่อการมีจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการมีจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับในที่สาธารณะที่มีความพึงพอใจระดับมากขึ้นไป คูณ 100 หารด้วยจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการมีจุดกวดขันทิ้งจับ-ปรับในที่สาธารณะทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง