รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

จำนวนภูมิปัญญาท้องถิ่นผู้สูงอายุในพื้นที่เขต ที่ถูกนำมาเผยแพร่และขึ้นทะเบียนภูมิปัญญาผู้สูงอายุของเขตป้อมปราบศัตรูพ่ายเพิ่มขึ้น : 5002-0792

ค่าเป้าหมาย ภูมิปัญญา : 1

ผลงานที่ทำได้ ภูมิปัญญา : 2

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ภูมิปัญญา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
2.00
100
100 / 100
3
2.00
0
0 / 0
4
2.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินโครงการธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ในวันที่ 25 ธันวาคม 2562 ภายใต้แนวคิด ส่งเสริมภูมิปัญญาผู้สูงอายุย่านนางเลิ้ง ร่วมกับสภาวัฒนธรรมเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1. การแสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่ย่านนางเลิ้ง 2. การสาธิตผลงาน อาทิ การทำบะหมี่ฮกเกี๋ยน การทำบาตรพระ การแพทย์แผนไทย ยาไทย การสานตะกร้า การทำสบู่ การทำของจิ๋ว 3. การเสวนาของภูมิปัญญาผู้สูงอายุย่านนางเลิ้ง 4. ชมพิพิธภัณฑ์เรือนหมอพร ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี ที่เป็นสมบัติล้ำค่าและความภาคภูมิใจของชาวย่านนางเลิ้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินโครงการเรียบร้อยแล้ว มีภูมิปัญญาเพิ่มขึ้นจำนวน 2 ภูมิปัญญา ได้แก่ 1. นางกฤษณา แสงไชย สาขาหัตถกรรมการทำบาตรพระ 2. นายวิเชียร มีสุขสบาย สาขาอาหาร (บะหมี่อกเกี๋ยน ตลาดนางเลิ้ง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินโครงการเรียบร้อยแล้ว มีภูมิปัญญาเพิ่มขึ้นจำนวน 2 ภูมิปัญญา ได้แก่ 1. นางกฤษณา แสงไชย สาขาหัตถกรรมการทำบาตรพระ 2. นายวิเชียร มีสุขสบาย สาขาอาหาร (บะหมี่อกเกี๋ยน ตลาดนางเลิ้ง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินโครงการเรียบร้อยแล้ว มีภูมิปัญญาเพิ่มขึ้นจำนวน 2 ภูมิปัญญา ได้แก่ 1. นางกฤษณา แสงไชย สาขาหัตถกรรมการทำบาตรพระ 2. นายวิเชียร มีสุขสบาย สาขาอาหาร (บะหมี่อกเกี๋ยน ตลาดนางเลิ้ง)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

- ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง ความรู้อันทรงคุณค่า ทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม หัตถกรรม หัตถศิลป์ สิ่งประดิษฐ์ การทำอาหาร และอื่นๆ ที่สามารถอนุรักษ์ ต่อยอดองค์ความรู้และถ่ายทอดสู่คนรุ่นใหม่ต่อไป โดยสอดคล้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ทางสังคมและวัฒนธรรมนั้นๆ - ผู้สูงอายุ คือ ผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป - เผยแพร่ คือ ได้รับการเผยแพร่ผ่านการจัดกิจกรรมการแสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นของผู้สูงอายุในพื้นที่เขต

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

นับจากจำนวนภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เพิ่มขึ้นที่นำมาเผยแพร่ในการจัดกิจกรรมการแสดงภูมิปัญญาท้องถิ่นของผู้สูงอายุในพื้นที่เขตและนำขึ้นทะเบียนภูมิปัญญาผู้สูงอายุของเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง