ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 10
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 10.99
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2:
รณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนเกิดจิตสำนึกในการคัดแยกและลดปริมาณขยะโดยเฉพาะขยะอันตรายจากอาคารบ้านเรือน เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2562 สามารถจัดเก็บขยะอันตรายได้ทั้งสิ้น 4,000 กิโลกรัม
- เดือนมกราคม 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 400 กก. คือ หลอดไฟ 250 กก. ภาชนะบรรจุสารเคมี 50 กก. และซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า 100 กก. - เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 1,100 กก. - เดือนมีนาคม 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 370 กก.
-เดือนเมษายน 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 490 กก. -เดือนพฤษภาคม 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 460 กก. -เดือนมิถุนายน 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 470 กก.
- เดือนกรกฎาคม 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 820 กก. - เดือนสิงหาคม 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 820 กก. - เดือนกันยายน 2563 ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายได้ 1,880 กก.
มูลฝอยอันตราย (Hazardous Wastes) หมายถึง มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน ได้แก่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ ภาชนะ บรรจุสารเคมี ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอื่นๆ เช่น ยาเม็ดหมดอายุ ผงคาร์บอน เป็นต้น โดยไม่รวมของเสียอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ และกากกัมมันตรังสี
ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2563 ลบ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หารด้วย ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณด้วย 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ ต.ค.62 - ก.ย. 63)
-
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ |
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ% |
:๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ |