รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า : 5003-0871

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
100
100 / 100
3
75.00
0
0 / 0
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- จัดเจ้าหน้าเทศกิจตั้งจุดกวดขันการจอดหรือขับขี่บนทางเท้าในพื้นที่เขตฯ จำนวน 1 ครั้ง/วัน/จุด ตั้งแต่วันที่ 1 - 25 ธันวาคม 2562 ดำเนินการเปรียบเทียบปรับ จำนวน 3 ราย 6,000 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-จัดเจ้าหน้าเทศกิจตั้งจุดกวดขันการจอดหรือขับขี่บนทางเท้าในพื้นที่เขตฯ จำนวน 1 ครั้ง/วัน/จุด ตั้งแต่วันที่ 1 มค. - มีค.63 ดำเนินการเปรียบเทียบปรับ จำนวน 12 ราย 24,000 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-จัดเจ้าหน้าเทศกิจตั้งจุดกวดขันการจอดหรือขับขี่บนทางเท้าในพื้นที่เขตฯ จำนวน 1 ครั้ง/วัน/จุด เดือน มิถุนายน 2563 ดำเนินการเปรียบเทียบปรับ จำนวน 2 ราย 4,000 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-จัดเจ้าหน้าเทศกิจตั้งจุดกวดขันการจอดหรือขับขี่บนทางเท้าในพื้นที่เขตฯ จำนวน 1 ครั้ง/วัน/2 จุด และตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - เดือนกันยายน 2563 ดำเนินการเปรียบเทียบปรับ ผู้ฝ่าฝืนกระทำความผิด จำนวน 5 ราย 7,200 บาท

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. จุดกวดขัน หมายถึง การตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดใน การจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า และในที่สาธารณะ บริเวณถนนสายหลักในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง 2. ถนนสายหลักในเขตกลุ่มกรุงเทพกลาง เขตสัมพันธวงศ์ ได้แก่ ถนนเจริญกรุง และถนนข้าวหลาม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1. นับจำนวนจุดกวดขันฯ ที่ออกปฏิบัติหน้าที่ในแต่ละวัน 2. ผลรวมคะแนนทั้งหมด หารด้วย ผลรวมของคะแนนเต็ม คูณด้วย 100 ผลรวมคะแนนทั้งหมด = ค่าคะแนน X ความถี่ของแต่ละระดับที่เลือกตอบแต่ละรายการประเมิน ผลรวมของคะแนนเต็ม = คะแนนสูงสุด X จำนวนข้อ X จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. คำสั่งมอบหมายภารกิจ 2. รายงานผลการดำเนินโครงการ พร้อมสถิติการเปรียบเทียบปรับประจำเดือน 3. แบบสอบถาม และรายงานสรุปผลการทอดแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ 4. ภาพถ่ายกิจกรรม

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง