รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม : 5005-0792

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ด้วยการดูแลตัดแต่งต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่และป้ายรถประจำทางและดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานฝ่ายโยธาดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงโดยการตรวจสอบและติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง 3. ฝ่ายเทศกิจจัดทำแผน/โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ โดยการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) 4. ฝ่ายเทศกิจจัดให้มีการติดตั้งตู้เขียวบริเวณจุดเสี่ยงภัย จำนวน 13 จุด ดังนี้ 4.1 บริเวณสะพานจักรยานข้างสวนลุมพินี ถนนวิทยุ 4.2 บริเวณสะพานลอยหน้าห้างเซ็นทรัลเวิลด์ ถนนราชดำริ 4.3 บริเวณลานกีฬาจารุเมือง ถนนพระรามที่ 6 4.4 บริเวณทางด้านใต้สะพานกษัตริย์ศึก ถนนพระรามที่ 1 4.5 บริเวณในซอยสิงหเสนีย์ ถนนจารุเมือง 4.6 บริเวณศาลท้าวมหาพรหม ถนนราชดำริ 4.7 บริเวณท่าเรือราชดำริ ถนนราชดำริ 4.8 บริเวณแยกหลังสวน ข้างสวนลุมพินี ถนนสารสิน 4.9 บริเวณทางเข้าวัดปทุมวนาราม ถนนพระรามที่ 1 4.10 บริเวณตลาดหลังห้างโลตัส ถนนพระรามที่ 1 4.11 บริเวณทางออกหอศิลป์ ถนนพระรามที่ 1 4.12 บริเวณในซอยสมคิด ถนนเพลินจิต 4.13 บริเวณทางด้านข้างคลองแสนแสบ 5. ฝ่ายเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) โดยตรวจตราวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด (เป้าหมายวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด) 6. ฝ่ายเทศกิจดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม 7. ฝ่ายเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV ในพื้นที่เสี่ยงวันละ 1 ครั้ง โดยให้รายงานตามแบบรายงานการตรวจประสิทธิภาพกล้อง CCTV 8. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอาสาจราจรอำนวยความสะดวกการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียน จำนวน 5 โรงเรียน ช่วงเช้าและช่วงเย็น (โรงเรียน กทม. 4 โรง เอกชน 1 โรง) และแหล่งชุมชน จำนวน 1 แห่ง วันละ 1 ครั้ง ช่วงเช้า ดังนี้ 8.1 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดชัยมงคล 8.2 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดดวงแข 8.3 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดปทุมวนารามฯ 8.4 บริเวณหน้าโรงเรียนปลูกจิต 8.5 บริเวณหน้าโรงเรียนมาแตร์เดอี 8.6 บริเวณหน้าประตู 3 สวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 9. จัดหน้าหน้าที่เทศกิจชุดสายตรวจพื้นที่กวดขันห้ามมิให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์/รถจักรยานยนต์บนทางเท้า 10. จัดให้มีสมุดควบคุมการตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) และสมุดควบคุมการตรวจรถจอดหรือขับขี่บนทางเท้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ด้วยการดูแลตัดแต่งต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่และป้ายรถประจำทางและดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานฝ่ายโยธาดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงโดยการตรวจสอบและติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง 3. ฝ่ายเทศกิจจัดทำแผน/โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ โดยการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) 4. ฝ่ายเทศกิจจัดให้มีการติดตั้งตู้เขียวบริเวณจุดเสี่ยงภัย จำนวน 13 จุด ดังนี้ 4.1 บริเวณสะพานจักรยานข้างสวนลุมพินี ถนนวิทยุ 4.2 บริเวณสะพานลอยหน้าห้างเซ็นทรัลเวิลด์ ถนนราชดำริ 4.3 บริเวณลานกีฬาจารุเมือง ถนนพระรามที่ 6 4.4 บริเวณทางด้านใต้สะพานกษัตริย์ศึก ถนนพระรามที่ 1 4.5 บริเวณในซอยสิงหเสนีย์ ถนนจารุเมือง 4.6 บริเวณศาลท้าวมหาพรหม ถนนราชดำริ 4.7 บริเวณท่าเรือราชดำริ ถนนราชดำริ 4.8 บริเวณแยกหลังสวน ข้างสวนลุมพินี ถนนสารสิน 4.9 บริเวณทางเข้าวัดปทุมวนาราม ถนนพระรามที่ 1 4.10 บริเวณตลาดหลังห้างโลตัส ถนนพระรามที่ 1 4.11 บริเวณทางออกหอศิลป์ ถนนพระรามที่ 1 4.12 บริเวณในซอยสมคิด ถนนเพลินจิต 4.13 บริเวณทางด้านข้างคลองแสนแสบ 5. ฝ่ายเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) โดยตรวจตราวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด (เป้าหมายวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด) 6. ฝ่ายเทศกิจดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม 7. ฝ่ายเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV ในพื้นที่เสี่ยงวันละ 1 ครั้ง โดยให้รายงานตามแบบรายงานการตรวจประสิทธิภาพกล้อง CCTV 8. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอาสาจราจรอำนวยความสะดวกการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียน จำนวน 5 โรงเรียน ช่วงเช้าและช่วงเย็น (โรงเรียน กทม. 4 โรง เอกชน 1 โรง) และแหล่งชุมชน จำนวน 1 แห่ง วันละ 1 ครั้ง ช่วงเช้า ดังนี้ 8.1 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดชัยมงคล 8.2 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดดวงแข 8.3 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดปทุมวนารามฯ 8.4 บริเวณหน้าโรงเรียนปลูกจิต 8.5 บริเวณหน้าโรงเรียนมาแตร์เดอี 8.6 บริเวณหน้าประตู 3 สวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 9. จัดหน้าหน้าที่เทศกิจชุดสายตรวจพื้นที่กวดขันห้ามมิให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์/รถจักรยานยนต์บนทางเท้า 10. จัดให้มีสมุดควบคุมการตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) และสมุดควบคุมการตรวจรถจอดหรือขับขี่บนทางเท้า

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงโครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ด้วยการดูแลตัดแต่งต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่และป้ายรถประจำทางและดำเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ประสานฝ่ายโยธาดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงโดยการตรวจสอบและติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง 3. ฝ่ายเทศกิจจัดทำแผน/โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ โดยการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) 4. ฝ่ายเทศกิจจัดให้มีการติดตั้งตู้เขียวบริเวณจุดเสี่ยงภัย จำนวน 13 จุด ดังนี้ 4.1 บริเวณสะพานจักรยานข้างสวนลุมพินี ถนนวิทยุ 4.2 บริเวณสะพานลอยหน้าห้างเซ็นทรัลเวิลด์ ถนนราชดำริ 4.3 บริเวณลานกีฬาจารุเมือง ถนนพระรามที่ 6 4.4 บริเวณทางด้านใต้สะพานกษัตริย์ศึก ถนนพระรามที่ 1 4.5 บริเวณในซอยสิงหเสนีย์ ถนนจารุเมือง 4.6 บริเวณศาลท้าวมหาพรหม ถนนราชดำริ 4.7 บริเวณท่าเรือราชดำริ ถนนราชดำริ 4.8 บริเวณแยกหลังสวน ข้างสวนลุมพินี ถนนสารสิน 4.9 บริเวณทางเข้าวัดปทุมวนาราม ถนนพระรามที่ 1 4.10 บริเวณตลาดหลังห้างโลตัส ถนนพระรามที่ 1 4.11 บริเวณทางออกหอศิลป์ ถนนพระรามที่ 1 4.12 บริเวณในซอยสมคิด ถนนเพลินจิต 4.13 บริเวณทางด้านข้างคลองแสนแสบ 5. ฝ่ายเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) โดยตรวจตราวันละ 3 ครั้ง/วัน/จุด (เป้าหมายวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด) 6. ฝ่ายเทศกิจดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม 7. ฝ่ายเทศกิจจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้อง CCTV ในพื้นที่เสี่ยงวันละ 1 ครั้ง โดยให้รายงานตามแบบรายงานการตรวจประสิทธิภาพกล้อง CCTV 8. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจอาสาจราจรอำนวยความสะดวกการจราจรบริเวณหน้าโรงเรียน จำนวน 5 โรงเรียน ช่วงเช้าและช่วงเย็น (โรงเรียน กทม. 4 โรง เอกชน 1 โรง) และแหล่งชุมชน จำนวน 1 แห่ง วันละ 1 ครั้ง ช่วงเช้า ดังนี้ 8.1 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดชัยมงคล 8.2 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดดวงแข 8.3 บริเวณหน้าโรงเรียนวัดปทุมวนารามฯ 8.4 บริเวณหน้าโรงเรียนปลูกจิต 8.5 บริเวณหน้าโรงเรียนมาแตร์เดอี 8.6 บริเวณหน้าประตู 3 สวนลุมพินี ถนนพระรามที่ 4 9. จัดหน้าหน้าที่เทศกิจชุดสายตรวจพื้นที่กวดขันห้ามมิให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์/รถจักรยานยนต์บนทางเท้า 10. จัดให้มีสมุดควบคุมการตรวจจุดเสี่ยงภัย (ตู้เขียว) และสมุดควบคุมการตรวจรถจอดหรือขับขี่บนทางเท้า

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1.พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับประชาชน 2.เงื่อนไข (ปัจจัย) ความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่งต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งได้ตามสภาพพื้นที่นั้น 3.การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

สำนักงานเขตมีค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 โดยแบ่งการให้คะแนน (ร้อยละ) ออกเป็น 3 ข้อ ได้แก่ 2.1 การดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 60 คะแนน คิดจากร้อยละของจำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไข สภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ 2.2 การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 20คะแนน คิดจากร้อยละของผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยที่ดำเนินการได้ 2.3 การรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน จำนวนคะแนน (ร้อยละ) 20 คะแนน คิดจากการรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงาน เขตส่งให้สำนักเทศกิจ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด 1. สำนักเทศกิจ 1.1 ข้อมูลจุดเสี่ยงภัยของสำนักงานเขต จำนวน 1 ชุด 1.2 ออกแบบรายงานผลการดำเนินงาน 1.3 ให้คะแนนผลการดำเนินงานของสำนักงานเขต ตามข้อ 2 และข้อ 3 2. การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 40) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) ประสานฝ่ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องดำเนินการ ดังนี้ 2.1 การดูแลตัดต้นไม้ โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.2 การติดตั้งไฟฟ้า โดย ฝ่ายโยธา (7 คะแนน) 2.3 ติดป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม โดย ฝ่ายเทศกิจ (7 คะแนน) 2.4 ทำความสะอาดบริเวณป้ายรถประจำทาง โดย ฝ่ายรักษาความสะอาด (7 คะแนน) 2.5 รวบรวมผลการดำเนินงานแก้ไขจุดเสี่ยงภัย ตามข้อ 2.1 – 2.4 รายงาน ให้ผู้บริหารและสำนักเทศกิจทราบ (12 คะแนน) 3. การเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย (ร้อยละ 60) สำนักงานเขต (ฝ่ายเทศกิจ) มีการจัดทำแผนเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย ดังนี้ 3.1 จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม มีการตรวจตรา 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.2 จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 1 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดให้จัดทำหนังสือประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข (15 คะแนน) 3.3 ปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกด้านการจราจรตามโครงการอาสาพาน้อง ข้ามถนนและอาสาจราจร จำนวน 2 ครั้ง/วัน/จุด (15 คะแนน) 3.4 ปฏิบัติหน้าที่กวดขันไม่ให้มีการจอดรถหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าไม่มีคดีอุบัติเหตุบนทางเท้า ร้อยละ 100 (15 คะแนน)

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง