รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

8.2 จำนวนครั้งในการถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นใหม่ : 5017-0817

ค่าเป้าหมาย ครั้ง (ครบทุกภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง) : 3

ผลงานที่ทำได้ ครั้ง (ครบทุกภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง) : 3

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง (ครบทุกภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
2.00
100
100 / 100
3
3.00
100
100 / 100
4
3.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-สรรหาและเตรียมการเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 2 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง ครีั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 3 ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง ครีั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 -ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 3 ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง จากเป้าหมาย ให้ดำเนินการเผยแพร่ครบทุกภูมิปัญญา (3 ภูมิปัญญา) ภูมิปัญญาละอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี ได้แก่ (1) ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ เผยแพร่ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 (2) ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง เผยแพร่ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 (3) ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย เผยแพร่ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม : ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านในท้องถิ่น ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ระหว่างการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์และเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ปราชญ์ท้องถิ่น หมายถึง บุคคลที่เป็นเจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำภูมิปัญญาไปใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตจนประสบความสำเร็จ สามารถถ่ายทอดเชื่อมโยงคุณค่าของอดีตกับปัจจุบันได้เหมาะสม ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีสัญชาติไทย และอาศัยอยู่ในพื้นที่ การถ่ายทอด หมายถึง กระบวนการแบ่งปันความรู้จากคนหนึ่ง ไปยังอีกคน กลุ่มหนึ่งไปยังอีกกลุ่ม หรือจะเป็นจากองค์กรหนึ่งไปยังอีกองค์กร การเผยแพร่ หมายถึง กระบวนการที่ทำให้ภูมิปัญญาถูกนำไปถ่ายทอดผ่านช่องทางของการสื่อสารทุกช่องทางของสำนักงานเขต

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ : (ถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นใหม่ครบทุกภูมิปัญญา อย่างน้อย 3 ครั้ง/ปี) 1. นับจำนวนครั้งการถ่ายทอดหรือเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นใหม่ (5 คะแนน) ดังนี้ - ไม่มีการถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น ได้ 0 คะแนน - ถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น 1 ครั้ง ได้ 1 คะแนน - ถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น 2 ครั้ง ได้ 3 คะแนน - ถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาที่เพิ่มขึ้น 3 ครั้งขึ้นไป ได้ 5 คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง