รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ : 5019-0851

ค่าเป้าหมาย ระดับ : 5

ผลงานที่ทำได้ ระดับ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00
100
100 / 100
2
10.00
0
0 / 0
3
50.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- สรุปผลการสำรวจคลองชักพระ พร้อมปัญหาและอุปสรรค เสร็จสิ้นแล้ว - ขณะนี้อยู่ระหว่างเสนอแผนการดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สรุปจากการสำรวจโครงการ 1. จุดเช็คอิน/จุดชมวิวทิวทัศน์/สถานที่พักผ่อนริมคลอง - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 อยู่ระหว่างปรับพื้นที่ 2. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน 9 ชุมชน - ชุมชนจรัญ 31 รวมใจ - ชุมชนซอยประชาร่วมใจ - ชุมชนวัดรวกสุทธาราม - ชุมชนหัวถนน (วัดแก้ว) - ชุมชนคลองล่าง - ชุมชนบุปผาสวรรค์ - ชุมชนตรอกไผ่ - วัดบางเสาธง - ชุมชนวัดมะลิ 1 - ชุมชนปลายซอยจรัญสนิทวงศ์ 29 (ฝั่งซ้าย) อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อ 3. จุดที่ต้องการให้ สจส. ติดตั้งกล้อง CCTV/กรรมสิทธิ์ของพื้นที่ - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 (จุดเช็คอิน) - บริเวณใต้สะพานวัดแก้ว - บริเวณใต้สะพานเอราวัณ อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ 4. จุดติดตั้งป้ายประดับต่าง ๆ เช่น ป้ายบอกชื่อแหล่งน้ำ ประวัติแหล่งน้ำ บ่งบอกถึงความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ ฯลฯ - จุดติดตั้งป้ายบอกชื่อคลอง 15 จุด อยู่ระหว่างประสานงาน 5. อื่นๆ - ตลอดแนวคลองชักพระ มีท่อประปา และฐานรองรับท่อประปาชำรุด หัก พัง ไม่ได้ใช้งาน ต้องประสานการประปานครหลวงเพื่อดำเนินการแก้ไข การประปานครหลวงได้สำรวจพื้นที่แล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จุดเช็คอิน/จุดชมวิวทิวทัศน์/สถานที่พักผ่อนริมคลอง - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 อยู่ระหว่างปรับพื้นที่ 2. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน 9 ชุมชน - ชุมชนจรัญ 31 รวมใจ - ชุมชนซอยประชาร่วมใจ - ชุมชนวัดรวกสุทธาราม - ชุมชนหัวถนน (วัดแก้ว) - ชุมชนคลองล่าง - ชุมชนบุปผาสวรรค์ - ชุมชนตรอกไผ่ - วัดบางเสาธง - ชุมชนวัดมะลิ 1 - ชุมชนปลายซอยจรัญสนิทวงศ์ 29 (ฝั่งซ้าย) อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อ 3. จุดที่ต้องการให้ สจส. ติดตั้งกล้อง CCTV/กรรมสิทธิ์ของพื้นที่ - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 (จุดเช็คอิน) - บริเวณใต้สะพานวัดแก้ว - บริเวณใต้สะพานเอราวัณ อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ 4. จุดติดตั้งป้ายประดับต่าง ๆ เช่น ป้ายบอกชื่อแหล่งน้ำ ประวัติแหล่งน้ำ บ่งบอกถึงความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ ฯลฯ - จุดติดตั้งป้ายบอกชื่อคลอง 15 จุด อยู่ระหว่างประสานงาน 5. อื่นๆ - ตลอดแนวคลองชักพระ มีท่อประปา และฐานรองรับท่อประปาชำรุด หัก พัง ไม่ได้ใช้งาน ต้องประสานการประปานครหลวงเพื่อดำเนินการแก้ไข การประปานครหลวงได้สำรวจพื้นที่แล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

๑. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Check in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับตกแต่งต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ อย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง ค่าเป้าหมาย สร้างจุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็คอิน Check in จำนวน 1 จุด สถานที่พักผ่อน จำนวน 1 จุด ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวก/ป้ายประดับตกแต่งต่าง ๆ ผลการดำเนินงาน ดำเนินการสร้างจุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็คอิน Check in/สถานที่พักผ่อน จำนวน 1 จุด บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 พร้อมป้ายประดับตกแต่ง เสร็จสิ้นแล้ว ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวก ค่าเป้าหมาย ติดตั้งป้ายแสดงชื่อคลองย่อยจำนวน 14 ป้าย ผลการดำเนินงาน ได้รับความอนุเคราะห์จากสำนักการจราจรและขนส่ง จัดทำป้ายชื่อคลอง จำนวน 14 ป้าย และอยู่ระหว่างดำเนินการติดตั้งป้ายบอกชื่อคลองย่อย ๒. บริหารจัดการขยะริมคลอง รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ การกระจายเสียง ฯลฯ และให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่อง การคัดแยกขยะ การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน ค่าเป้าหมาย จำนวน 2 ช่องทาง ได้แก่ การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่ประชาชน จำนวน 2 ครั้ง/ปี สถานที่บริเวณชุมชนในพื้นที่ ผลการดำเนินงาน ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ “ห้ามทิ้งขยะลงในคลอง” และเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ บริเวณชุมชนปลายซอยจรัญสนิทวงศ์ ๒๙ (ฝั่งซ้าย) เพื่อให้คนในชุมชนช่วยดูแลรักษาแหล่งน้ำ และจัดกิจกรรมอนุรักษ์คูคลองภายในชุมชนตรอกไผ่ – วัดบางเสาธง โดยร่วมกันพัฒนาแหล่งน้ำ กำจัดวัชพืชในคูคลอง 3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง เช่น ท่าน้ำของตนเอง สะพานทางเดินข้ามคลองที่เชื่อมระหว่างบ้านกับชุมชน กำแพงบ้านริมคลอง ฯลฯ ค่าเป้าหมาย มีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง ผลการดำเนินงาน ลงเรือประชาสัมพันธ์ และเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์ท่าน้ำของตนเอง และให้ตระหนักถึงการปล่อยน้ำเสียลงคลอง การไม่รุกล้ำทางเดินริมคลอง ตลอดย่านชุมชนริมคลองชักพระ และชุมชนคลองล่าง 4. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น ค่าเป้าหมาย 5 สะพาน ประกอบด้วย 1. สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ 2. สะพานวัดช่างเหล็ก 3. สะพานเอราวัณ 4. สะพานวัดแก้ว 5. สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก - พุทธมณฑลสาย 4 ผลการดำเนินงาน ดำเนินการซ่อมแซม ทาสี ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานทั้ง 5 จุด เสร็จสิ้นแล้ว 5. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ประสานการไฟฟ้านครหลวงแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

คลองสายหลัก หมายถึง คลองทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่สำนักการระบายน้ำรับผิดชอบดูแล จำนวน 233 คลอง คลองสายหลักที่ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ หมายถึง คลองทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักการระบายน้ำ ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ตลอดแนวคลองให้มีความสวยงามสะอาดและปลอดภัยสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม เอกลักษณ์ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมของชุมชน ทั้งภูมิทัศน์ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ และสถานที่ที่ถูกสร้างขึ้นโดยดำเนินการจัดกิจกรรมภายใต้ 3 องค์ประกอบ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

แบ่งเป็น ๒ ส่วน ดังนี้ ๑. นับจากผลการดำเนินงานที่หน่วยงานสามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำหนด ๒. นับจากจำนวนคลองสายหลักที่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมได้ครบคลุมทุกองค์ประกอบ(โดยเป็นผลคะแนนที่ได้ร่วมกันของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

การรายงานผลการดำเนินงานและภาพถ่าย

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม
:๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า%
:๒.๑.๑.๑ ตลาดหรือแผงค้าขายที่กีดขวางทางเท้า กีดขวางการจราจรและบดบังทัศนียภาพ ได้รับการจัดระเบียบได้ครบทุกกลุ่มเขต

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง