รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร : 5034-0902

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
80.00
0
0 / 0
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม 1.จัดทำโครงการฯ ขออนุมัติจากผู้อำนวยการเขต 2.จัดทำแผนการปฏิบัติงานตามโครงการและดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะด้านการภาพ ตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหารของสถานประกอบ จำนวน 90 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือนมกราคม - เดือนมีนาคม 1.จัดทำแผนการปฏิบัติงานตามโครงการและดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะด้านการภาพ ตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหารของสถานประกอบการ จำนวน 90 แห่ง 2.จัดทำฏีกาเบิกจ่ายค่าอาหารนอกเวลา 3. จัดทำฎีกาเบิกจ่ายค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์ฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือนเมษายน - เดือนมิถุนายน 1.จัดทำแผนการปฏิบัติงานตามโครงการและดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะด้านการภาพ ตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหารของสถานประกอบ จำนวน 50 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน 1.จัดทำแผนการปฏิบัติงานตามโครงการและดำเนินการตรวจด้านสุขลักษณะด้านการภาพ ตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหารของสถานประกอบ จำนวน 40 แห่ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

วิธีการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง