รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละความสำเร็จของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเขตประเวศ : 5034-0905

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
80.00
0
0 / 0
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

เดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม 1.จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ 2.จัดกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่กิจกรรมในชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 ปรับปรุงสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชนไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรค ภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังการรับแจ้งข่าว โดยได้ดำเนินการ 8 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือนมกราคม - เดือนมีนาคม จัดกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่กิจกรรมในชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 ปรับปรุงสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชนไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรค ภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังการรับแจ้งข่าว โดยได้ดำเนินการ 12 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เดือนเมษายน - เดือนมิถุนายน จัดกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่กิจกรรมในชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 ปรับปรุงสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชนไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรค ภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังการรับแจ้งข่าว โดยได้ดำเนินการ 12 ชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน จัดกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก 4 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่กิจกรรมในชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 ปรับปรุงสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชนไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรค ภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังการรับแจ้งข่าว โดยได้ดำเนินการ 12 ชุมชน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

กิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก ครบ 4 กิจกรรม หมายถึง ชุมชนที่จดทะเบียนที่ได้ดำเนินกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (4 กิจกรรม) ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายประจำปีทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่นการจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านทางหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 มีการปรับปรุงสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในชุมชนไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังการรับแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับการควบคุมการระบาดคือ 4.1 ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักการป้องกันตัวเองและครอบครัวไม่ให้ยุงกัด 4.2 ขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยังลายที่อาจมีหลงเหลือในชุมชนให้หมดไป 4.3 กำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้านอย่างน้อย 100 เมตร 4.4 ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ (ค่าHI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10) 4.5 พ่นสารเคมีกำจัดยุงลายเต็มวัยให้รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 ม. อย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกัน 7 วันโดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชนหากมีชุมชนที่อยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติมให้ชุมชนใกล้เคียงด้วย

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนชุมชนที่จดทะเบียนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกครบ 4 กิจกรรม x 100 จำนวนชุมชนที่จดทะเบียนทั้งหมดในพื้นที่เขตประเวศ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

วิธีการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง