รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

5.1 ร้อยละของชุมชนที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกครบ 4 กิจกรรม : 5048-0789

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
81.25
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขต ดังนี้ 1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชน 13 ชุมชน สถานศึกษา 11 แห่ง วัด 3 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 1 แห่ง 2. กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน 13 ชุมชน สถานศึกษา 11 แห่ง วัด 3 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 1 แห่ง 3. กิจกรรมที่ 3 ปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรคในชุมชน 13 ชุมชน สถานศึกษา 11 แห่ง วัด 3 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 1 แห่ง 4. กิจกรรมที่ 4 ควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขต ดังนี้ 1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 20 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 2. กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 20 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 3. กิจกรรมที่ 3 ปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรคในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 20 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 4. กิจกรรมที่ 4 ควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว พบวา ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 - มีนาคม 2563 ไม่มีผู้ป่วยไข้เลือดออกภายในชุมชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขต ดังนี้ 1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 15 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 2. กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 15 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 3. กิจกรรมที่ 3 ปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรคในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 15 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 7 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 4. กิจกรรมที่ 4 ควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว พบว่า ตั้งแต่เดือนเมษายน 2563 - มิถุนายน 2563 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกภายในชุมชน จำนวน 1 ชุมชน คือชุมชนสินพัฒนาธานี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีการดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขต ดังนี้ 1. กิจกรรมที่ 1 สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 18แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 19 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 2. กิจกรรมที่ 2 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 18 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 19 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 3. กิจกรรมที่ 3 ปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรคในชุมชน 16 ชุมชน สถานศึกษา 18 แห่ง วัด 6 แห่ง สถานประกอบการ 19 แห่ง สถานรับเลี้ยงเด็ก 2 แห่ง 4. กิจกรรมที่ 4 ควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว พบว่า ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2563 - กันยายน 2563 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกภายในชุมชน จำนวน 2 ชุมชน คือ ชุมชนบางพรหมร่วมใจ ชุมชนหมู่บ้านร่วมเกื้อ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม : ชุมชน หมายถึง ชุมชนที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบของกรุงเทพมหานครรายเขต ในพื้นที่เขตทวีวัฒนา มีทั้งหมด 16 ชุมชน กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออก 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 มีการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายเป็นประจำทุกเดือน กิจกรรมที่ 2 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เผยแพร่ผ่านหอกระจายข่าว เอกสาร เวทีชาวบ้าน การประชุมในชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน กิจกรรมที่ 3 มีการปรับสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรค กิจกรรมที่ 4 ชุมชนที่มีผู้ป่วยได้รับการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง ภายหลังได้รับการแจ้งข่าว โดยใช้มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด หมายเหตุ : กิจกรรมที่ ๔ จะถูกนำมานับเมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นในชุมชนนั้น หากชุมชนใดไม่มีผู้ป่วย ให้ถือว่าดำเนินการครบทั้ง ๓ กิจกรรม และครบถ้วนตามเป้าหมาย มาตรการเร่งด่วนสำหรับควบคุมการระบาด คือ 1. ประกาศแจ้งเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชนนั้น พร้อมทั้งให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้รู้จักการป้องกันตนเองและครอบครัวไม่ให้ยุงกัด 2. ขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกำจัด แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป 3. การกำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบบ้าน ควรดำเนินการอย่างน้อย 100 เมตร 4. ประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เกิดโรค โดยมีดัชนีความชุกชุมลูกน้ำ (ค่า HI≤10) 5. การพ่นสารเคมีกำจัดยุงโตเต็มวัยให้ครอบคลุมพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร อย่างน้อย 2 ครั้ง โดยแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายในชุมชน ควรพ่นทุกหลังคาเรือน ในชุมชน หากมีชุมชนที่อยู่ข้างเคียงก็ควรพ่นสารเคมีเพิ่มเติม ให้ชุมชนใกล้เคียงด้วย

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ : (จำนวนชุมชนในพื้นที่เขตที่มีกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกครบ 4 กิจกรรม x 100) หารด้วย จำนวนชุมชนที่จดทะเบียนในพื้นที่เขตทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง%
:๑.๖.๒.๓ พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายในการควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง