รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

6. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร : 5048-0791

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
28.40
100
100 / 100
2
84.69
100
100 / 100
3
94.89
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการส่งเสริมสถานประกอบการอาหารให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ต.ค.62 - ธ.ค.62) จำนวน 25 แห่ง จากสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ทั้งหมด 88 แห่ง ได้แก่ (1)บ้านนำ้เคียงดิน (2)ครัวบ้านโอ่ง (3)สวนอาหารร่มไม้ชายคา (4)ห้องอาหารจีนบำรุง (5)ลูกชิ้นหมูพริกกระเหรี่ยง (6)ร้านครัวบ้านไทร (7)สวนอาหารเรือนแก้ว(8)ครัวยายเปล่ง (9) ณัฐกรคอฟฟี่ช็อป (10) ร้านมัส เค เทียร์(11)บ้านใจรัก (12)เดอะเมเมโมรี่ (13)มาร์กิน บาร์ แอนด์ เรสเตอรองต์(14) เดอะไวท์คอนเนคชั่น (15)ครัวยี่สาร (16)ครัวปักษ์ใต้แม่สะอิ้ง (17)ข้าวขาหมูจุฬา (18) ZEN (19)เดอะพิซซ่าคอมปะนี (20) สเว่นเซ่นส์ (21)กาแฟอเมซอน (22)มุมสวน (23)อี๊ด 20001(24)ห่านพะโล้ยินดี (25)ร้านอาหารบ้านในสวน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 28.40

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการส่งเสริมสถานประกอบการอาหารให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ม.ค.63 - มี.ค.63) จำนวน 58 แห่ง รวมกับไตรมาสที่ 1 เป็น 83 แห่ง จากสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 98 แห่ง ได้แก่ ( (1)สาร์บัคส์ คอฟฟี่ (2) บาร์บีคิว พลาซ่า (3)ข้าวเลือดหมู (4)เฮงยอดผักกินไม่รู้อิ่ม (5) L BOX (6)คาเฟ่ คอนเทรนเนอร์ (7)ยามเย็น(8) Bootcamcafe (9) Cafe Amazon (10)Pizza Hut (11) บ้านส้มตำ (12)ติดมันส์บุฟเฟ่ต์ปิ้งย่าง (13)บ้านมีเพลง (14) Rhythm& Shabu (15)พาซิโอฟู้ด พาร์ค (16)แทคัง (17)ซีพีเฟรชมาร์ท(18)บิ็กซีมินิมาร์ท (19)แฟมมิลี่มาร์ท (20)หจก.ดาวโตประทีปสุวรรณ (21)เทสโก้โลตัส เอ็กซ์เพรส (22)เซเว่น อีเลฟเว่น (23)เซเว่น อีเลฟเว่น (24)เซเว่น อีเลฟเว่น)(25) เซเว่น อีเลฟเว่น (26) เซเว่น อีเลฟเว่น (27)เซเว่น อีเลฟเว่น(28)เซเว่น อีเลฟเว่น (29)เซเว่น อีเลฟเว่น ) (30)เซเว่น อีเลฟเว่น (31)เซเว่น อีเลฟเว่น(32)เซเว่น อีเลฟเว่น (33)เซเว่น อีเลฟเว่น (34)เซเว่น อีเลฟเว่น (35)เซเว่น อีเลฟเว่น (36)เซเว่น อีเลฟเว่น (37)เซเว่น อีเลฟเว่น (38) เซเว่น อีเลฟเว่น(39)เซเว่น อีเลฟเว่น (40)เซเว่น อีเลฟเว่น ) (41)เซเว่น อีเลฟเว่น (42)เซเว่น อีเลฟเว่น (43)เซเว่น อีเลฟเวน(44)เซเว่น อีเลฟเว่น(45) (เซเว่น อีเลฟเวน(46)แฟมิลี่มาร์ท(47)เซเว่น อีเลฟเว่น (48) เซเว่น อีเลฟเว่น(49)เซเว่น อีเลฟเว่น (50)บริษัท บางจากรีเทล จำกัด (51)เซเว่น อีเลฟเว่น (52) เซเว่น อีเลฟเว่น(53)เซเว่น อีเลฟเว่น(54)เซเว่น อีเลฟเว่น(55)เซเว่น อีเลฟเว่น (56)เซเว่น อีเลฟเว่น(57)ท๊อปส์ พุทธมณฑล (58)ตลาดกรีนวิลล์ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 84.69

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการส่งเสริมสถานประกอบการอาหารให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (เม.ย.63 - มิ.ย.63) จำนวน 10 แห่ง รวมกับไตรมาสที่ 1, 2 เป็น 93 แห่ง จากสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 98 แห่ง ดังนี้ (1) ตลาดเซฟเซ็นเตอร์ (/)ตลาดพุทธมณฑล (3)ตลาดบางแค 2 (4) ตลาดเวิล์มาร์เก็ต1 (5) ตลาดเวิล์มาร์เก็ต2 (6)ตลาดเวิล์มาร์เก็ต3 (7) ตลาดเวิล์มาร์เก็ต 4 (8) ตลาดเวิล์มาร์เก็ต5 (9) ตลาดนัดทางเข้าหมู่บ้านร่วมเกื้อ (10)ตลาดพรทวีผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 94.89

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการส่งเสริมสถานประกอบการอาหารให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (ก.ค.63 - ก.ย.63) จำนวน 5 แห่ง รวมกับไตรมาสที่ 1, 2,3 เป็น 9ค แห่ง จากสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 98 แห่ง ดังนี้ (1)ตลาดร่วมเกื้อ(2)ตลาดฟู้ดมาร์เก้ทส์ (3)ตลาดอักษะ (4)ตลาดสุขทวีวิลเลจ(5)ตลาดบางพรหม ( ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม : 1. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ท ในพื้นที่ 50 เขต ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 2. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมิน สถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ 2.1 ด้านอาคารสถานที่ ต้องผ่านเกณฑ์สุขลักษณะ สถานประกอบการอาหาร 2.2 ด้านความปลอดภัยของอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ ด้านความปลอดภัย ดังนี้ (1) อาหารและวัตถุดิบสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด ดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหาร ที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง สารไอโอเดทและสารโพลาร์ ในน้ำมันทอดอาหารเกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด (2) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภคภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหา โคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-2) พบการปนเปื้อน ไม่เกินร้อยละ 10 กรณีพบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย หรือ โคลิฟอร์มแบคทีเรีย ให้ออกคำสั่ง เจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือคำแนะนำให้ผู้ประกอบการอาหาร ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัย โดยสุ่มตรวจวิเคราะห์ซ้ำ 2.3 ด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และผ่านการทดสอบความรู้โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร 3. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมสนับสนุน ให้สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด (น้ำหนัก 10 คะแนน) 1. สำรวจและตรวจสอบจำนวนสถานประกอบการ อาหารในพื้นที่ให้เป็นปัจจุบันเพื่อจัดทำฐานข้อมูล แล้วรายงานให้สำนักอนามัย (1.0) 2. ส่งเสริมสถานประกอบการอาหารในพื้นที่ให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (3.0) โดย 2.1 ตรวจแนะนำด้านสุขลักษณะ 2.2 ตรวจคุณภาพอาหารด้านเคมี และโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย ด้วยชุดทดสอบด้านความปลอดภัยของอาหารเบื้องต้น (Test-kit) 2.3 ส่งเสริมผู้สัมผัสอาหารให้ผ่านการอบรม หรือเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร 3. รวบรวมรายชื่อสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ส่งให้สำนักอนามัย เพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (0.5) 4. ส่งมอบป้ายรับรองฯ ให้กับสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร (1.0) 5. ตรวจติดตาม กำกับ สถานประกอบการที่ได้รับป้ายรับรองฯ ให้มีการรักษาคุณภาพมาตรฐานอย่างสม่ำเสมอ (1.0) วิธีการคำนวณ : จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร คูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต สูตรการคำนวณ จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร x ๑๐๐ หารด้วย จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง