รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

8.1. จำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น : 5048-0793

ค่าเป้าหมาย จำนวน : 3

ผลงานที่ทำได้ จำนวน : 3

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
3.00
100
100 / 100
3
3.00
100
100 / 100
4
3.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการค้นหาภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุในพื้นที่เขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานเขตทวีวัฒนาดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุในพื้นที่เขตรายใหม่ ได้จำนวน 3 ภูมิปัญญา ดังนี้ 1. ภูมิปัญญา เรื่อง การซ่อมเครื่องพิมพ์ดีดโบราณ อายุ 100 ปี จาก นายทองสุข หนูประสิทธิ์ อายุ 81 ปี 2. ภูมิปัญญา เรื่อง การทำขนมจีนน้ำพริก จาก นางส้มแก้ว แจ่มประเสริฐ อายุ 70 ปี 3. ภูมิปัญญา เรื่อง การร้องเพลงวณิพก (ขอทานกระยาสารท) จาก นายเริงศักดิ์ ปานทอง อายุ 65 ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตทวีวัฒนาดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุในพื้นที่เขตรายใหม่ ได้จำนวน 3 ภูมิปัญญา ดังนี้ 1. ภูมิปัญญา เรื่อง การซ่อมเครื่องพิมพ์ดีดโบราณ อายุ 100 ปี จาก นายทองสุข หนูประสิทธิ์ อายุ 81 ปี 2. ภูมิปัญญา เรื่อง การทำขนมจีนน้ำพริก จาก นางส้มแก้ว แจ่มประเสริฐ อายุ 70 ปี 3. ภูมิปัญญา เรื่อง การร้องเพลงวณิพก (ขอทานกระยาสารท) จาก นายเริงศักดิ์ ปานทอง อายุ 65 ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตทวีวัฒนาดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุในพื้นที่เขตรายใหม่ ได้จำนวน 3 ภูมิปัญญา ดังนี้ 1. ภูมิปัญญา เรื่อง การซ่อมเครื่องพิมพ์ดีดโบราณ อายุ 100 ปี จาก นายทองสุข หนูประสิทธิ์ อายุ 81 ปี 2. ภูมิปัญญา เรื่อง การทำขนมจีนน้ำพริก จาก นางส้มแก้ว แจ่มประเสริฐ อายุ 70 ปี 3. ภูมิปัญญา เรื่อง การร้องเพลงวณิพก (ขอทานกระยาสารท) จาก นายเริงศักดิ์ ปานทอง อายุ 65 ปี

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

นิยาม : ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านในท้องถิ่น ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีก รุ่นหนึ่ง ระหว่างการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์และเปลี่ยนแปลง จนอาจเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามสภาพการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ปราชญ์ท้องถิ่น หมายถึง บุคคลที่เป็นเจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำภูมิปัญญาไปใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตจนประสบความสำเร็จ สามารถถ่ายทอดเชื่อมโยงคุณค่าของอดีตกับปัจจุบันได้เหมาะสม ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป มีสัญชาติไทย และอาศัยอยู่ในพื้นที่

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีการคำนวณ : นับจำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นใหม่ (5 คะแนน) ดังนี้ - ไม่มีภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น ได้ 0 คะแนน - ภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น 1 ภูมิปัญญา ได้ 1 คะแนน - ภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น 2 ภูมิปัญญา ได้ 3 คะแนน - ภูมิปัญญาเพิ่มขึ้น 3 ภูมิปัญญาขึ้นไป ได้ 5 คะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All
:๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
:๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี%
:๓.๑.๒.๑ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง