ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

ค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย : 50200000-3475

สำนักงานเขตตลิ่งชัน : (2563)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นางสาวธนภร อนุญาหงษ์ โทร 5468

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 2 100

หลักการและเหตุผล

เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืน ภาครัฐและเอกชนมีความตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ทำให้ผู้บริโภคมีสุขภาพอนามัยที่ดี

50200400/50200400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อปรับปรุงยกมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3.เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีฉุกเฉิน/ร้องเรียนด้านอาหาร 4. เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และวิสัยทัศน์ด้านอาหารปลอดภัยได้กว้างขวางและเหมาะสมกับสถานการณ์ และพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้เพื่อคุณภาพงานอาหารปลอดภัย 5. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 6.เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

1. ร้อยละ 95 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค 2. ร้อยละ 100 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ 3. ร้อยละ 25 ของผู้ประกอบการ/ผู้จัดการ/ผู้สัมผัสอาหาร ผ่านการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหาร หรือผ่านการทดสอบความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร 4. ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-14)

100.00

14/09/2563 : จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการประจำปี

** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด- 19(COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมที่มีการประชุมได้ และมีหนังสือขอคืนงบประมาณเกี่ยวกับการจัดประชุม ซึ่งได้แจ้งคืนงบประมาณตามโครงการ จำนวน 7,020.-บาท

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2020-08-27)

95.00

27/08/2563 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 2. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 45 แห่ง ประกอบด้วย ร้านอาหาร 36 แห่ง และมินิมาร์ท 9 แห่ง 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 270 ตัวอย่าง 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารให้พัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 45 แห่ง แยกเป็น สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 36 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 9 แห่ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-07-29)

85.00

29/07/2563 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 2. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 26 แห่ง ประกอบด้วย ร้านอาหาร 5 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท 20 แห่ง 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 250 ตัวอย่าง 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารให้พัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 26 แห่ง แยกเป็น สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 5 แห่ง ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 1 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 20 แห่ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-06-26)

70.00

2020-6-26 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ตรวจสถานประกอบการอาหารที่ไม่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19)เพื่อประเมินป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 33 แห่ง 2. สุ่มเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 180 ตัวอย่าง ผลการตรวจไม่พบการปนเปื้อน 3. ดำเนินการเพื่อเบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร จำนวน 4,000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-05-29)

65.00

29/05/2563 : 1. ตรวจสถานประกอบการอาหารที่ไม่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19) จำนวน 10 แห่ง 2. สุ่มเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 104 ตัวอย่าง ผลการตรวจไม่พบการปนเปื้อน 3. ดำเนินการเพื่อเบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร จำนวน 4,000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-04-23)

65.00

23/04/2563 : มีหนังสือให้ชะลอการตรวจสถานประกอบการอาหารตามโครงการฯ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) และสถานประกอบการอาหารบางส่วนปิดตามคำสั่งกรุงเทพมหานคร เรื่อง ให้ปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว ฉบับที่ 4 ,5,6 ทำให้ไม่สามารถตรวจประเมินสถานที่เพื่อต่ออายุป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยได้ แต่ทั้งนี้ได้ลงพื้นที่เพื่อสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในตลาด จำนวน 2 แห่ง และทำการเบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร จำนวน 4,000.- บาท

** ปัญหาของโครงการ :มีการชะลอการดำเนินโครงการฯไว้เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19) สถานประกอบการอาหารบางส่วนปิดตามคำสั่งกรุงเทพมหานคร เรื่อง ให้ปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว ฉบับที่ 4 ,5,6 ทำให้ไม่สามารถตรวจประเมินสถานที่เพื่อต่ออายุป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยได้ และการลงพื้นที่อาจทำให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-03-26)

60.00

26/3/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 2. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 58 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 2 แห่ง ร้านอาหาร 45 แห่ง และมินิมาร์ท 11 แห่ง 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 350 ตัวอย่าง 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารให้พัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 50 แห่ง แยกเป็น สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 33 แห่ง ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 2 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 1 แห่ง ตลาดประเภท 1 จำนวน 4 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 10 แห่ง 5. ดำเนินการเบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร จำนวน 4,000 บาท และเบิกจ่ายค่าอาหารทำการนอกเวลา จำนวน 10,000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2020-02-26)

50.00

26/2/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 2. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 52 แห่ง ตลาดประเภท 1 จำนวน 4 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 10 แห่ง ร้านอาหาร 35 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 2 แห่ง และมินิมาร์ท 1 แห่ง 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 300 ตัวอย่าง 4. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารให้พัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 50 แห่ง แยกเป็น สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 33 แห่ง ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 2 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 1 แห่ง ตลาดประเภท 1 จำนวน 4 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 10 แห่ง 5. ดำเนินการเบิกจ่ายค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร จำนวน 4,000 บาท และเบิกจ่ายค่าอาหารทำการนอกเวลา จำนวน 11,000 บาท

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2020-01-28)

40.00

28/1/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 2. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 48 แห่ง ร้านอาหาร 24 แห่ง 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 280 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2019-12-24)

35.00

24/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 2. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 51 แห่ง ร้านอาหาร 24 แห่ง มินิมาร์ท 25 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต 2 แห่ง 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 280 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2019-11-25)

25.00

25/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 2. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 53 แห่ง ร้านอาหาร 4 แห่ง มินิมาร์ท 4 แห่ง โรงเรียน 33 แห่ง 3. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 300 ตัวอย่าง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2019-10-22)

15.00

22/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. ขออนุมัติโครงการ 2. ขออนุมัติเงินงวด 3. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำเดือน 4. ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการอาหาร จำนวน 52 แห่ง ตลาดประเภท 1 จำนวน 4 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 10 แห่ง ร้านอาหาร 35 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 2 แห่ง และมินิมาร์ท 1 แห่ง 5. สุ่มตรวจเฝ้าระวังคุณภาพอาหาร จำนวน 300 ตัวอย่าง 6. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารให้พัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย จำนวน 50 แห่ง แยกเป็น สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 33 แห่ง ซูเปอร์มาเก็ต จำนวน 2 แห่ง มินิมาร์ท จำนวน 1 แห่ง ตลาดประเภท 1 จำนวน 4 แห่ง ตลาดประเภท 2 จำนวน 10 แห่ง

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
:5.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ขออนุมัติเงินงวด
:5.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:จัดทำแผนปฏิบัติงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:ดำเนินการตามแผนปฏิบัติงาน
:75.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:สรุปผลการดำเนินงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2019-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2019-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50200000-3475

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50200000-3475

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5020-0993

ตัวชี้วัด : 6. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 96.06

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
29.43

100 / 100
2
53.09

100 / 100
3
63.44

0 / 0
4
96.06

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **