ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นางสาวพนิดา แซ่ก๊วย
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 2
สำนักงานเขตบางบอนได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย และเป็นไปตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด้านมหานครแห่งความสุข ทั้งนี้ เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาครัฐและประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
50500400/50500400
1. เพื่อปรับปรุงยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการ 3. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร 4. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือของผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 5. เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคและสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
ร้อยละ 100 ความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-28)
28/9/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ตลาด จำนวน 4 แห่ง 2. มินิมาร์ท จำนวน 23 แห่ง 3. ร้านอาหาร จำนวน 38 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนกันยายน 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 434 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 841 ตัวอย่าง โดยผ่านเกณฑ์มาตราฐานทั้งสิ้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2020-08-31)
31/8/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. ตลาด จำนวน 3 แห่ง 2. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 2 แห่ง 3. มินิมาร์ท จำนวน 8 แห่ง 4. ร้านอาหาร จำนวน 7 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนสิงหาคม 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 79123 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 200 ตัวอย่าง โดยผ่านเกณฑ์มาตราฐานทั้งสิ้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2020-07-30)
30/7/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. เรือนจำ จำนวน 1 แห่ง 2. โรงเรียน จำนวน 25 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนกรกฎาคม 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 547 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคจำนวน 47 ตัวอย่าง ด้านเคมีจำนวน 267 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนด้านเคมีจำนวน 4 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2020-06-26)
26/6/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 15 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนมิถุนายน 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 123 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 7 ตัวอย่าง โดยผ่านเกณฑ์มาตราฐานทั้งสิ้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2020-05-29)
29/5/2563 : ไม่ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร เนื่องจากสภาวะการแพร่เชื้อไวรัสโคโรนา 2019
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2020-04-27)
27/4/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 15 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนเมษายน 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 123 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด โดยได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2020-03-30)
30/3/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 19 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 15 แห่ง 3. เรือนจำ จำนวน 1 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนมีนาคม 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 322 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค จำนวน 13 ตัวอย่าง ด้านเคมีจำนวน 143 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด โดยได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2020-02-28)
28/2/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 18 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 11 แห่ง 3. โรงเรียน จำนวน 10 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 519 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค จำนวน 5 ตัวอย่าง ด้านเคมีจำนวน 349 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 ตัวอย่าง โดยได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2020-01-30)
30/1/2563 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 11 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง 3. ตลาด จำนวน 1 แห่ง 4. โรงเรียน จำนวน 10 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนมกราคม 2563 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 315 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 234 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 5 ตัวอย่าง โดยได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2019-12-23)
23/12/2562 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 8 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 10 แห่ง 3. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 1 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนธันวาคม 2562 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 132 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 256 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 ตัวอย่าง โดยได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-11-28)
28/11/2562 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 11 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 5 แห่ง 3. ตลาด จำนวน 1 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 120 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 266 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 ตัวอย่าง ได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-10-29)
29/10/2562 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 6 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 12 แห่ง 3. ตลาด จำนวน 3 แห่ง 4. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนตุลาคม 2562 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 157 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 426 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมดโดยได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2019-10-28)
28/10/2562 : ได้ดำเนินการตรวจสอบด้านสุขลักษณะและสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารเพื่อตรวจวิเคราะห์ในกลุ่มเป้าหมาย สรุปผลได้ดังนี้ 1. มินิมาร์ท จำนวน 6 แห่ง 2. ร้านอาหาร จำนวน 12 แห่ง 3. ตลาด จำนวน 3 แห่ง 4. ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 แห่ง ดำเนินการสุ่มตรวจอาหารประจำเดือนตุลาคม 2562 ด้านจุลชีววิทยาจำนวน 157 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค ด้านเคมีจำนวน 426 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมดโดยได้ดำเนินการส่งหนังสือแจ้งผลการตรวจและข้อแนะนำในการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 86.36
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **