Showing 1-46 of 46 items.
OKR ตามเป้าหมายการพัฒนาฯ ปีงบประมาณ 2570::
# | ยุทธศาสตร์ 9ด้าน 9ดี | 28 ประเด็นพัฒนาฯ | SUPER_OKR | KEY RESULT | หน่วยนับ | ค่าเป้าหมายฯ (70) | หน่วยงาน Host | หน่วยงาน Relative | Actions |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | จำนวนผู้รับบริการตรวจเชิงรุกจาก Commulance | คน | 21,000 | สนอ. | - | |
2 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | จำนวนเขตที่ดำเนินโครงการภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร อย่างน้อย 3 กลุ่มเป้าหมาย โดยอ้างอิงข้อมูลจากการตรวจสุขภาพล้านคน | เขต | 50 | สนอ. | สนข. | |
3 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งใน กทม. ได้รับบริการเชิงรุกจากสำนักอนามัย | ร้อยละ | 95 | สนอ. | - | |
4 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | ร้อยละของชุมชนจัดตั้งตามระเบียบของกรุงเทพมหานครที่มีชมรมผู้สูงอายุ | ร้อยละ | 100 | สนอ. | สนข. | |
5 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร โดยมีมูลค่าเงินที่เบิกจ่ายในทุกกลุ่มเป้าหมาย (ร้อยละของเงินที่ได้รับอนุมัติแผนงาน หรือโครงการหรือกิจกรรมกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครเมื่อเทียบกับวงเงินที่ได้รับจัดสรร) | ร้อยละ | 100 | สนอ. | สนข. | |
6 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | จำนวนศูนย์รับเลี้ยงเด็กอ่อนที่เปิดรับเด็กอายุตั้งแต่ 3 เดือน – 3 ปี | แห่่ง | 1 (สะสม 3 แห่ง) | สนอ. | - | |
7 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | จำนวนสุนัขที่ได้รับการฉีดไมโครชิป และ/หรือจดทะเบียนสุนัขในกรุงเทพมหานคร | ตัว | 10,000 | สนอ | สนข. | |
8 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | จำนวนสุนัขและแมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครและเครือข่าย | ตัว | 200,000 | สนอ | สนข. | |
9 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | จำนวนสุนัขและแมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันโดยกรุงเทพมหานครและเครือข่าย | ตัว | 50,000 | สนอ | - | |
10 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่ดำเนินการเปลี่ยนสัตว์จรเป็นสัตว์ชุมชน | ร้้อยละ | 100 | สนอ | - | |
11 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของชุมชนที่ได้รับการประเมินว่าเป็นชุมชนเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด พ้นจากการเป็นชุมชนเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด (ร้อยละของชุมชนที่กลับมาเป็นชุมชนแดงซ้ำไม่เกินร้อยละ 5 ) | ร้อยละ | 70 | สนอ. | สนข. | |
12 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันยาเสพติด | ร้อยละ | 90 | สนอ. | สนข. | |
13 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของผู้ที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพทางสังคม | ร้อยละ | 90 | สพส. | สนอ./สนข. | |
14 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ กระบวนการบำบัดรักษาได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) | ร้อยละ | 75 | สนอ. | - | |
15 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด บ้านพิชิตใจ ผ่านการฟื้นฟูครบกำหนดและมีคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ | ร้อยละ | 75 | สนอ. | - | |
16 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร - ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) - ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) - ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Servic | ร้อยละ | ร้อยละ 100 ร้อยละ 60 ร้อยละ 30 | สนอ | สนข. | |
17 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของสถานประกอบการเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงได้รับการตรวจประเมินสุขลักษณะและ/หรือขออนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ | ร้อยละ | 100 | สนอ | - | |
18 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.1 สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | ร้อยละของสุนัขในศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการอุปการะจากจำนวนสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะที่กำหนด | ร้้อยละ | 30 | สนอ | - | |
19 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.1 เพิ่มจำนวน ศบส. พลัส | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่มีการใช้งานระบบ Teleconsult ระหว่างศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ | แห่ง | 7 | สนอ. | สนพ. | |
20 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.1 เพิ่มจำนวน ศบส. พลัส | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ยกระดับเป็นศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพ | แห่ง | 2 | สนอ. | - | |
21 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.1 เพิ่มจำนวน ศบส. พลัส | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขพลัสเพิ่มขึ้น | แห่ง | 2 | สนอ. | - | |
22 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.1 เพิ่มจำนวน ศบส. พลัส | ร้อยละของประชาชนที่รับบริการ ศบส. พลัส ต่อประชาชนที่ใช้บริการแล้วกลับบ้านโดยที่ไม่ต้องไป รพ. (ในกลุ่มผู้ป่วยโรคที่มีภาวะที่กำหนด) | ร้อยละ | 95 | สนอ. | - | |
23 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.1 เพิ่มจำนวน ศบส. พลัส | ร้อยละของผู้มีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนกายอุปกรณ์ได้รับการสนับสนุน (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก) | ร้อยละ | 100 | สนอ. | - | |
24 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน | ระยะเวลาการเข้าถึงผู้ป่วยวิกฤตสีแดงได้รับการเข้าถึงภายใน 8 นาที | ร้้อยละ | 75 | สนพ. | - | |
25 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน | ร้อยละของชุมชนที่ได้รับการติดตั้งเครื่อง AED (1 ชุมชน 1 AED) | ร้อยละ | 100 | สนพ. | สนข. | |
26 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.2 ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน | ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถได้รับบริการ ภายใน 15 นาที | ร้อยละ | 65 | สนพ. | - | |
27 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 | ร้อยละ | 100-99-99 และ 10-10-10 | สนอ. | สนพ. | |
28 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ผู้รับบริการที่เสี่ยงภาวะสุขภาพจิตไม่ยกระดับความรุนแรงหลังผู้รับบริการได้รับการปรึกษาสุขภาพจิต | ร้อยละ | 80 | สนอ | - | |
29 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการคัดกรองวัณโรค (3 กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี, ผู้ต้องขัง, ผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคปอด) | ร้อยละ | 66 | สนอ. | - | |
30 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง | ร้อยละ | 95 | สนอ | - | |
31 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง | ร้อยละ | 95 | สนพ. | - | |
32 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ | มากกว่าร้อยละ | 70 | สนพ. | - | |
33 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ | ร้อยละ | 70 | สนพ. | - | |
34 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ | ร้อยละ | ไม่เกินร้อยละ 10 | สนอ. | - | |
35 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการตรวจ HbA1c อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี | มากกว่าร้อยละ | 80 | สนพ. | สนอ. | |
36 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ | ร้อยละ | ไม่เกินร้อยละ 5 | สนอ. | - | |
37 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค | ร้อยละ | 95 | สนอ. | - | |
38 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคปอดรายใหม่ | ร้อยละ | 90 | สนพ. | - | |
39 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.2.3 อัตราส่วนของการใช้ Teleconsult แล้วไม่ต้องส่งต่อ | สัดส่วนการเข้ารับบริการทางการแพทย์ด้วยระบบโทรเวชกรรม (Telemedicine) | ร้อยละ | 14 | สนพ. | - | |
40 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพ | จำนวนเตียงที่บริการประชาชนเพิ่มขึ้น (ดำเนินการเพื่อสนับสนุนอัตราส่วนเตียงต่อประชากร ใน กทม. เพิ่มมากขึ้น) | เตียง | 200 (สะสม) | สนพ. | - | |
41 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.3.2 ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อ อย่างมีประสิทธิภาพ | ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการส่งต่อภายในเวลา 15 นาที | ร้อยละ | 100 | สนพ. | สนอ. | |
42 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.3.3 การเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ Bangkok Health Zoning | ร้อยละของจำนวนคลินิกชุมชนอบอุ่นในเขตพื้นที่ กทม. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายส่งต่อผู้ป่วยผ่านระบบ e - Referral | ร้อยละ | 95 | สนพ. | สนอ. | |
43 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.3 เพิ่มประสิทธิภาพการเข้าถึงการรักษาพยาบาล ที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ | 5.3.3 การเชื่อมโยงข้อมูลในระบบ Bangkok Health Zoning | สัดส่วนการให้บริการผู้ป่วยที่มีอาการเล็กน้อย (common illnesses) ที่โรงพยาบาลลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา | ร้อยละ | ไม่มากกว่าปีก่อนหน้า | สนพ. | - | |
44 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.4 พัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล | 5.4.1 จำนวนนวัตกรรมที่ใช้ในการรักษาพยาบาล | จำนวน Excellent Center/ศูนย์เวชศาสตร์เขตเมือง ที่สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทของพื้นที่ และแนวโน้มของการเกิดโรค | แห่ง | 1 | สนพ. | - | |
45 | 5. ด้านสุขภาพดี | 5.4 พัฒนานวัตกรรมการรักษาพยาบาล | 5.4.1 จำนวนนวัตกรรมที่ใช้ในการรักษาพยาบาล | ร้อยละของการให้บริการประชาชนผ่านศูนย์สนับสนุนบริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (Urban Medicine Service : UMSC) ภายใน 30 นาที | ร้อยละ | 80 | สนอ | - | |
46 | 5. ด้านสุขภาพดี | 8.2 สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.2 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงบริการที่ กรุงเทพมหานครจัดให้อย่างพอเพียงและปลอดภัย | ร้อยละของการออกบัตรคนพิการ ณ โรงพยาบาล ภายในระยะเวลา 15 นาที | ร้อยละ | 90 | สนพ. | - | |