- Home
- ข้อมูล POLICY MAPPING 67-69
Showing 221-240 of 815 items.
ID | OKR ปี 2569 | นโยบายฯ 9ดี | ประเด็นพัฒนา 28 | ชื่อ SUPER OKR | นโยบาย 226+ | KRs : ชื่อเป้าหมาย หรือ KRs | หน่วยนับ | ค่าเป้าหมาย/ปี 2567 | ค่าเป้าหมาย/ปี 2568 | ค่าเป้าหมาย/ปี 2569 | หน่วยงาน (HOST) | Refer Krid67 | Refer Krid68 | อนุกก1_ที่รับผิดชอบ (รผว.) | อนุกก2_ที่รับผิดชอบ (รป.) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
215 | 2569 | สิ่งแวดล้อมดี | จัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย | 4.2.2 คลองในพื้นที่บริการบำบัดน้าเสียของ กรุงเทพมหานครมีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน | 174 171 191: จัดการน้ำเสียอย่างเป็นระบบ | ร้อยละของแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่ถูกจัดเก็บค่าธรรมเนียม | ร้อยละ | 30 | 33 | 36 | สำนักการระบายน้ำ | OKR 4.2.45 ร้อยละของแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่ถูกจัดเก็บค่าธรรมเนียม | ร้อยละของแหล่งกำเนิดน้ำเสียที่ถูกจัดเก็บค่าธรรมเนียม | 2 | 1 |
216 | (not set) | สิ่งแวดล้อมดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 4.2.1 ปริมาณขยะลดลงและไม่มีขยะตกค้าง | 209: ลดฝุ่น ลดค่าใช้จ่ายของประชาชนในการปรับปรุงเครื่องยนต์เก่า | จำนวนประชาชนที่จบหลักสูตรปรับปรุงเครื่องยนต์ไฟฟ้า | คน | 40 | 40 | - | สำนักพัฒนาสังคม | OKR 4.2.46 จำนวนประชาชนที่จบหลักสูตรปรับปรุงเครื่องยนต์ไฟฟ้า | จำนวนประชาชนที่จบหลักสูตรปรับปรุงเครื่องยนต์ไฟฟ้า | 1 | 1 |
217 | (not set) | สิ่งแวดล้อมดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 4.2.1 ปริมาณขยะลดลงและไม่มีขยะตกค้าง | 209: ลดฝุ่น ลดค่าใช้จ่ายของประชาชนในการปรับปรุงเครื่องยนต์เก่า | จำนวนสถานที่ตรวจสภาพรถยนต์ฟรี | แห่ง | 3 | 4 | - | สำนักพัฒนาสังคม | OKR 4.2.47 จำนวนสถานที่ตรวจสภาพรถยนต์ฟรี | จำนวนสถานที่ตรวจสภาพรถยนต์ฟรี | 1 | 1 |
218 | 2569 | สิ่งแวดล้อมดี | จัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย | 4.2.3 จำนวนวันที่ฝุ่น PM2.5 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อย กว่า 300 วัน/ปี | 233: ช่วยเหลือเกษตรกรเพื่อลดปริมาณการเผาฟาง | จำนวนพื้นที่การเกษตรที่มีการเผาลดลง | ตร.กม. | 126,560 | 253,120 | 0 | สำนักพัฒนาสังคม | OKR 4.2.48 จำนวนพื้นที่การเกษตรที่มีการเผาลดลง | จำนวนพื้นที่การเกษตรที่มีการเผาลดลง | 1 | 1 |
219 | 2569 | สุขภาพดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | 015: นำร่องพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย | ดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 (1) | ร้อยละ | 96 | 96 | 96 | สำนักอนามัย | OKR 5.1.04(1) : ดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 | ดัชนี HIV ที่ 95-95-95 และ 10-10-10 | 2 | 1 |
193 | (not set) | สิ่งแวดล้อมดี | จัดการขยะ อากาศ น้ำเสีย | 4.2.1 ปริมาณขยะลดลงและไม่มีขยะตกค้าง | 157: คาร์บอนคุมได้ กทมปลอดคาร์บอน (BMA Net Zero) | จำนวนการให้บริการรถ BMA Feeder | เส้นทาง | 4 | อยู่ระหว่างพิจารณาการเพิ่มเส้นทางให้บริการ | - | สำนักการจราจรและขนส่ง | (not set) | (not set) | 3 | 1 |
234 | 2569 | สุขภาพดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | 138: จัดระเบียบสัตว์จร แก้ปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | ตัว | 35000 | 40000 | 45,000 | สำนักอนามัย | OKR 5.1.17 : จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 2 | 1 |
235 | (not set) | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | 138 : จัดระเบียบสัตว์จร แก้ปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ | มีข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเรื่องการควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ. .... | ฉบับ | 1 | (not set) | - | สำนักอนามัย | OKR 5.1.20 : มีข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องการควบคุมการเลี้ยงหรือปล่อยสัตว์ พ.ศ...... | (not set) | 2 | 1 |
236 | 2569 | สุขภาพดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | 138: จัดระเบียบสัตว์จร แก้ปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | ตัว | 165000 | 170000 | 175,000 | สำนักอนามัย | OKR 5.1.18 : จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 2 | 1 |
237 | 2569 | สุขภาพดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | 138: จัดระเบียบสัตว์จร แก้ปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ | ร้อยละของสุนัขในศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการอุปการะจากจำนวนสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะที่กำหนด | ร้อยละ | 3 | 5 | 10 | สำนักอนามัย | OKR 5.1.19 : ร้อยละของสุนัขในศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการอุปการะจากจำนวนสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะ ที่กำหนด | ร้อยละของสุนัขในศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการอุปการะจากจำนวนสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะที่กำหนด | 2 | 1 |
238 | 2569 | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน | 155: Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน | ระยะเวลาในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยMotorlance | นาที | 10 | 10 | ภายใน 8 | สำนักการแพทย์ | OKR 5.1.06 : ระยะเวลาในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดย Motorlance | ระยะเวลาในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดย Motorlance | 2 | 1 |
242 | (not set) | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | 155: Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน | จำนวนรถCommulance(Healthzoneละ1คัน) | คัน | 7 | 7 | - | สำนักอนามัย | OKR 5.1.23 : จำนวนรถ commulance (Health zone ละ 1 คัน) | จำนวนรถ Commulance (Health zone ละ 1 คัน) | 2 | 1 |
260 | 2569 | สุขภาพดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | 152: ยกระดับศูนย์บริการสาธารณสุข เพิ่มการรักษา เพิ่มเวลา เพิ่มทรัพยากร | ร้อยละของผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต(Counseling)เพิ่มขึ้น (จำนวนผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต(Counseling)) | ร้อยละ | 5 | 5 | 5 | สำนักอนามัย | OKR 5.2.09 : ร้อยละของผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต (Counseling) (จำนวนผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต (Counseling)) | ร้อยละของผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต (Counseling) เพิ่มขึ้น (จำนวนผู้รับบริการที่เข้ารับการปรึกษาสุขภาพจิต (Counseling)) | 2 | 1 |
261 | (not set) | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.1.2 อัตราการป่วยจากโรคติดต่อและโรค ไม่ติดต่อลดลง | 152: ยกระดับศูนย์บริการสาธารณสุข เพิ่มการรักษา เพิ่มเวลา เพิ่มทรัพยากร | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | แห่ง | 5 | 10 | - | สำนักอนามัย | OKR 5.2.10 : จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 2 | 1 |
239 | (not set) | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | 155: Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน | ร้อยละของประชาชนที่แจ้งขอรับการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉินและด้านสุขภาพเชิงรุกถึงชุมชนจาก Motorlance | ร้อยละ | 100 | (not set) | - | สำนักการแพทย์ | OKR 5.1.05 : ร้อยละของประชาชนที่แจ้งขอรับการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉินและด้านสุขภาพเชิงรุกถึงชุมชนจาก Motorlance | (not set) | 2 | 1 |
240 | 2569 | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน | 155: Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน | ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นสูง(Advance) | นาที | ไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้า | ไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้า | ไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้า | สำนักการแพทย์ | OKR 5.1.07(1) : ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ขั้นสูง (Advance) | ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ขั้นสูง (Advance) | 2 | 1 |
241 | 2569 | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.2.2 ระยะเวลาที่ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับบริการ ปฏิบัติการฉุกเฉิน | 155: Mobile Medical Unit รถสุขภาพเชิงรุก ตรวจถึงชุมชน | ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินขั้นพื้นฐาน(Basic) | นาที | ไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้า | ไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้า | ไม่มากกว่า ระยะเวลาเฉลี่ยของระยะเวลาเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉิน ปีก่อนหน้า | สำนักการแพทย์ | OKR 5.1.07(2) : ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ขั้นพื้นฐาน (Basic) | ระยะเวลาเฉลี่ยในการเข้าถึงผู้ป่วยฉุกเฉินที่ขอรับบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ขั้นพื้นฐาน (Basic) | 2 | 1 |
244 | (not set) | สุขภาพดี | ยกระดับระบบสุขภาพปฐมภูมิและเครือข่ายสาธารณสุข | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | 174 : ส่งเสริมกลไกภาคประชาชน สุขภาพดี ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพฯ | จำนวนเขตที่ดำเนินโครงการภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ตามกลุ่มเป้าหมาย(เด็กเล็กผู้สูงอายุและคนพิการ) | เขต | 50 | 50 | - | สำนักอนามัย | OKR 5.1.22 : จำนวนเขตที่ดำเนินโครงการภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครตามกลุ่มเป้าหมาย (เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ) | จำนวนเขตที่ดำเนินโครงการภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ตามกลุ่มเป้าหมาย (เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ) | 2 | 1 |
245 | 2569 | สุขภาพดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.1 ร้อยละของงบประมาณ สปสช. ถูกใช้ ในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชน | 174 : ส่งเสริมกลไกภาคประชาชน สุขภาพดี ผ่านกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพฯ | ร้อยละของเงินที่ได้รับอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานครเมื่อเทียบกับวงเงินที่ได้รับจัดสรร | ร้อยละ | 80 | 80 | 80 | สำนักอนามัย | 19. ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร (มูลค่าเงินที่เบิกจ่าย) : OKR 5.1.21 | ร้อยละของเงินที่ได้รับอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เมื่อเทียบกับวงเงินที่ได้รับจัดสรร | 2 | 1 |
246 | 2569 | สุขภาพดี | สนับสนุนและพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพชุมชนทุกกลุ่ม | 5.1.3 สภาพแวดล้อมที่เป็นพื้นที่สุขภาวะชุมชน | 234 : คนกรุงเทพร่วมใจปลอดภัยจากปัญหายาเสพติด | ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยงและเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด | ไม่เกิน ร้อยละ | 15 | 14 | 14 | สำนักอนามัย | OKR 5.1.25 : ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยงและเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด | ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด | 2 | 1 |