ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 50190000

Home Home SED

มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ

(1) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
11.38

100 / 100
2
31.62

0 / 0
3
73.58

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑.สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด ๗๓๘ แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ๘๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๓๘ ๒.การดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี ๑๘ แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว ๑๘ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 759 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 240 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 757 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 557 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 777 แห่ง ปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 31 แห่ง เหลือ 746 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 746 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2.สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี 25 แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว 25 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
11.38

100 / 100
2
31.62

0 / 0
3
73.58

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑.สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด ๗๓๘ แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ๘๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๓๘ ๒.การดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี ๑๘ แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว ๑๘ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 759 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 240 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 757 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 557 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 777 แห่ง ปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 31 แห่ง เหลือ 746 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 746 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2.สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี 25 แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว 25 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
11.38

100 / 100
2
31.62

0 / 0
3
73.58

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑.สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด ๗๓๘ แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ๘๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๓๘ ๒.การดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี ๑๘ แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว ๑๘ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 759 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 240 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 757 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 557 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 777 แห่ง ปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 31 แห่ง เหลือ 746 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 746 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2.สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี 25 แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว 25 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี

หน่วยนับ :ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหาร)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
11.38

100 / 100
2
31.62

0 / 0
3
73.58

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑.สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด ๗๓๘ แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ๘๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๓๘ ๒.การดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี ๑๘ แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว ๑๘ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 759 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 240 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 757 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 557 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 777 แห่ง ปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 31 แห่ง เหลือ 746 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 746 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 2.สถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาตในพื้นที่มี 25 แห่ง ดำเนินการตรวจแล้ว 25 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(5) ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทัยบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑ - ปลอดมลพิษ๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทัยบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :21.74

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.62

100 / 100
2
13.96

0 / 0
3
21.74

0 / 0
4
30.63

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2563 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 660.59 ตัน คิดเป็นร้อยละ 5.62

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563-เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 1,692.47 ตัน คิดเป็นร้อยละ 13.96

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563-เดือนพฤษภาคม 2564 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 2,414.2 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21.74

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563-เดือนสิงหาคม-วันที่ 14 กันยายน 2564 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 2,921.20 ตัน คิดเป็นร้อยละ 30.63

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทัยบกับปี 2560
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
ร้อยละของมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เมื่อเทัยบกับปี 2560

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :30.00

ผลงาน :21.74

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.62

100 / 100
2
13.96

0 / 0
3
21.74

0 / 0
4
30.63

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2563 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 660.59 ตัน คิดเป็นร้อยละ 5.62

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563-เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 1,692.47 ตัน คิดเป็นร้อยละ 13.96

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563-เดือนพฤษภาคม 2564 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 2,414.2 ตัน คิดเป็นร้อยละ 21.74

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รวบรวมปริมาณเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ วัชพืช ใบไม้กิ่งไม้ เดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2563-เดือนสิงหาคม-วันที่ 14 กันยายน 2564 ได้ปริมาณรวมทั้งสิ้น 2,921.20 ตัน คิดเป็นร้อยละ 30.63

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service)

หน่วยนับ :ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหา

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :21.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหา)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.83

100 / 100
2
15.15

0 / 0
3
21.00

0 / 0
4
41.79

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตบางกอกน้อยมีทั้งหมด 733 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย มีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 2.04

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด ๗59 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 115 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 757 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 159 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สถานประกอบการในพื้นที่มีทั้งหมด 777 แห่ง ปิดชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 จำนวน 31 แห่ง เหลือ 746 แห่ง ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 312 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 40.154

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(8) ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
ระดับความสำเร็จของคลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :100.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
10.00

0 / 0
3
50.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- สรุปผลการสำรวจคลองชักพระ พร้อมปัญหาและอุปสรรค เสร็จสิ้นแล้ว - ขณะนี้อยู่ระหว่างเสนอแผนการดำเนินการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สรุปจากการสำรวจโครงการ 1. จุดเช็คอิน/จุดชมวิวทิวทัศน์/สถานที่พักผ่อนริมคลอง - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 อยู่ระหว่างปรับพื้นที่ 2. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน 9 ชุมชน - ชุมชนจรัญ 31 รวมใจ - ชุมชนซอยประชาร่วมใจ - ชุมชนวัดรวกสุทธาราม - ชุมชนหัวถนน (วัดแก้ว) - ชุมชนคลองล่าง - ชุมชนบุปผาสวรรค์ - ชุมชนตรอกไผ่ - วัดบางเสาธง - ชุมชนวัดมะลิ 1 - ชุมชนปลายซอยจรัญสนิทวงศ์ 29 (ฝั่งซ้าย) อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อ 3. จุดที่ต้องการให้ สจส. ติดตั้งกล้อง CCTV/กรรมสิทธิ์ของพื้นที่ - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 (จุดเช็คอิน) - บริเวณใต้สะพานวัดแก้ว - บริเวณใต้สะพานเอราวัณ อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ 4. จุดติดตั้งป้ายประดับต่าง ๆ เช่น ป้ายบอกชื่อแหล่งน้ำ ประวัติแหล่งน้ำ บ่งบอกถึงความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ ฯลฯ - จุดติดตั้งป้ายบอกชื่อคลอง 15 จุด อยู่ระหว่างประสานงาน 5. อื่นๆ - ตลอดแนวคลองชักพระ มีท่อประปา และฐานรองรับท่อประปาชำรุด หัก พัง ไม่ได้ใช้งาน ต้องประสานการประปานครหลวงเพื่อดำเนินการแก้ไข การประปานครหลวงได้สำรวจพื้นที่แล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จุดเช็คอิน/จุดชมวิวทิวทัศน์/สถานที่พักผ่อนริมคลอง - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 อยู่ระหว่างปรับพื้นที่ 2. รณรงค์/ประชาสัมพันธ์ จำนวน 9 ชุมชน - ชุมชนจรัญ 31 รวมใจ - ชุมชนซอยประชาร่วมใจ - ชุมชนวัดรวกสุทธาราม - ชุมชนหัวถนน (วัดแก้ว) - ชุมชนคลองล่าง - ชุมชนบุปผาสวรรค์ - ชุมชนตรอกไผ่ - วัดบางเสาธง - ชุมชนวัดมะลิ 1 - ชุมชนปลายซอยจรัญสนิทวงศ์ 29 (ฝั่งซ้าย) อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อ 3. จุดที่ต้องการให้ สจส. ติดตั้งกล้อง CCTV/กรรมสิทธิ์ของพื้นที่ - บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 (จุดเช็คอิน) - บริเวณใต้สะพานวัดแก้ว - บริเวณใต้สะพานเอราวัณ อยู่ระหว่างประสานงานเพื่อรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ 4. จุดติดตั้งป้ายประดับต่าง ๆ เช่น ป้ายบอกชื่อแหล่งน้ำ ประวัติแหล่งน้ำ บ่งบอกถึงความเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ ฯลฯ - จุดติดตั้งป้ายบอกชื่อคลอง 15 จุด อยู่ระหว่างประสานงาน 5. อื่นๆ - ตลอดแนวคลองชักพระ มีท่อประปา และฐานรองรับท่อประปาชำรุด หัก พัง ไม่ได้ใช้งาน ต้องประสานการประปานครหลวงเพื่อดำเนินการแก้ไข การประปานครหลวงได้สำรวจพื้นที่แล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

๑. พัฒนาพื้นที่ริมคลองให้เป็นสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์ สร้างจุดเช็คอิน Check in ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับตกแต่งต่าง ๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ของพื้นที่ อย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง ค่าเป้าหมาย สร้างจุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็คอิน Check in จำนวน 1 จุด สถานที่พักผ่อน จำนวน 1 จุด ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวก/ป้ายประดับตกแต่งต่าง ๆ ผลการดำเนินงาน ดำเนินการสร้างจุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็คอิน Check in/สถานที่พักผ่อน จำนวน 1 จุด บริเวณที่ว่างใต้สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 พร้อมป้ายประดับตกแต่ง เสร็จสิ้นแล้ว ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวก ค่าเป้าหมาย ติดตั้งป้ายแสดงชื่อคลองย่อยจำนวน 14 ป้าย ผลการดำเนินงาน ได้รับความอนุเคราะห์จากสำนักการจราจรและขนส่ง จัดทำป้ายชื่อคลอง จำนวน 14 ป้าย และอยู่ระหว่างดำเนินการติดตั้งป้ายบอกชื่อคลองย่อย ๒. บริหารจัดการขยะริมคลอง รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ การกระจายเสียง ฯลฯ และให้ความรู้แก่ประชาชน เรื่อง การคัดแยกขยะ การจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน ค่าเป้าหมาย จำนวน 2 ช่องทาง ได้แก่ การเดินรณรงค์ ติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ความรู้แก่ประชาชน จำนวน 2 ครั้ง/ปี สถานที่บริเวณชุมชนในพื้นที่ ผลการดำเนินงาน ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ “ห้ามทิ้งขยะลงในคลอง” และเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ บริเวณชุมชนปลายซอยจรัญสนิทวงศ์ ๒๙ (ฝั่งซ้าย) เพื่อให้คนในชุมชนช่วยดูแลรักษาแหล่งน้ำ และจัดกิจกรรมอนุรักษ์คูคลองภายในชุมชนตรอกไผ่ – วัดบางเสาธง โดยร่วมกันพัฒนาแหล่งน้ำ กำจัดวัชพืชในคูคลอง 3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง เช่น ท่าน้ำของตนเอง สะพานทางเดินข้ามคลองที่เชื่อมระหว่างบ้านกับชุมชน กำแพงบ้านริมคลอง ฯลฯ ค่าเป้าหมาย มีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง ผลการดำเนินงาน ลงเรือประชาสัมพันธ์ และเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนร่วมกันปรับปรุงภูมิทัศน์ท่าน้ำของตนเอง และให้ตระหนักถึงการปล่อยน้ำเสียลงคลอง การไม่รุกล้ำทางเดินริมคลอง ตลอดย่านชุมชนริมคลองชักพระ และชุมชนคลองล่าง 4. สำรวจ ตรวจสอบและซ่อมแซมสะพานข้ามคลองในความรับผิดชอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพที่ดีขึ้น ค่าเป้าหมาย 5 สะพาน ประกอบด้วย 1. สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ 2. สะพานวัดช่างเหล็ก 3. สะพานเอราวัณ 4. สะพานวัดแก้ว 5. สะพานข้ามคลองชักพระ ถนนพรานนก - พุทธมณฑลสาย 4 ผลการดำเนินงาน ดำเนินการซ่อมแซม ทาสี ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานทั้ง 5 จุด เสร็จสิ้นแล้ว 5. สำรวจและประสานการไฟฟ้านครหลวงเพื่อติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างให้พร้อมใช้งาน ค่าเป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ประสานการไฟฟ้านครหลวงแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(9) พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
16.66

100 / 100
2
72.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว อยู่ระหว่างรายงานขอความเห็นชอบจัดซื้อต้นไม้และวัสดุอุปกรณ์ จำนวน 6 รายการ ยอดเงิน 450,000 บาท การสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี โครงการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร รายงานครั้งที่ 1 จำนวน 2 แห่ง ลงโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีฯแล้ว ดังนี้ 1. ที่ว่างซอยโรงพยาบาลเจ้าพระยา ขนาดพื้นที่ 7,200 ตารางเมตร 2. พื้นที่ไม้ยืนต้น ใกล้ถนนตัดใหม่เลียบทางรถไฟ ขนาดพื้นที่ 23,940 ตารางเมตร และการสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียว สำหรับจำนวนเป้าหมายปี 2564 สำนักงานสวนสาธารณะยังไม่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวนเงิน 450,000 บาท ดำเนินการเบิกจ่ายเรียบร้อยแล้ว ดำเนินการปลูกเรียบร้อยแล้ว การสำรวจข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดี โครงการสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดีต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร รายงานครั้งที่ 2 จำนวน 4 แห่ง ลงโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีฯแล้ว ดังนี้ 1. ที่ลุ่มกลางซอยจรัญสนิทวงศ์ 23 ขนาดพื้นที่ 1,788 ตารางเมตร (1 ไร่ 47 ตร.วา) 2. ที่ว่างกลางซอยจรัญสนิทวงศ์ 23 ขนาดพื้นที่ 1,040 ตารางเมตร (2 ไร่ 60 ตร.วา) 3. ที่ลุ่มริมคลองมอญ ขนาดพื้นที่ 1,664 ตารางเมตร (1 ไร่ 16 ตร.วา) 4. สวนกล้วย ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31 ขนาดพื้นที่ 5,788 ตารางเมตร (3 ไร่ 2 งาน 47 ตร.วา) 5. ที่ว่างกลางซอยจรัญสนิทวงศ์ 31 ขนาดพื้นที่ 2,240 ตารางเมตร (1 ไร่ 1 งาน 60 ตร.วา) 6. ที่ว่างกลางซอยจรัญสนิทวงศ์ 31 ขนาดพื้นที่ 2,200 ตารางเมตร (1 ไร่ 1 งาน 50 ตร.วา) และการสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น สำรวจพื้นที่ทั้งส่วนราชการและภาคเอกชน มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวดังนี้ 1. สนามหญ้า ดาดฟ้า คอนโดมิเนียม ศุภาลัย ลอฟท์ สถานีแยกไฟฉาย ขนาด 208 ตารางเมตร(52 ตร.วา) 2. สนามหญ้า ดาดฟ้า คอนโดมิเนียม ศุภาลัย ลอฟท์ สถานีแยกไฟฉาย ขนาด 272 ตารางเมตร(68 ตร.วา) 3. สวนถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 ฝั่งขาเข้า ขนาด 360 ตารางเมตร( 90 ตร.วา) รวม 840 ตารางเมตร (210 ตร.วา)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กิจกรรมสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมของเมืองที่ดี รายงานครั้งที่ 3 จำนวน 4 แห่ง ลงโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีฯแล้ว ดังนี้ 1. ที่ว่าง ซอยจรัญสนิทวงศ์ 35 ก่อนถึงวัดมะลิ รหัส 18632 ขนาดพื้นที่ 4,800 ตารางเมตร (3 ไร่) 2. ที่ลุ่ม ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31 รหัส 18638 ขนาดพื้นที่ 3,200 ตารางเมตร (2 ไร่) 3. ที่ว่าง ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31 รหัส 18639 ขนาดพื้นที่ 1,600 ตารางเมตร (1 ไร่) 4. ที่ว่าง ซอยจรัญสนิทวงศ์ 31 รหัส 18640 ขนาดพื้นที่ 392 ตารางเมตร (98วา) เป้าหมายการดำเนินการ 12 แห่ง/ปี ดำเนินการครบ กิจกรรมสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น สำรวจพื้นที่ทั้งส่วนราชการและภาคเอกชน มีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวดังนี้ 1. สวนแนวกำแพง คอนโดมิเนียมศุภาลัย ลอฟท์ สถานีแยกไปฉาย รหัส 18629 ขนาด 1 งาน(400 ตารางเมตร) 2. สวนถนน ถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 รหัส 18630 ขนาด 80 ตารางวา (320 ตารางเมตร) 3. สวนถนน ถนนพรานนก-พุทธมณฑล สาย 4 รหัส 18631 ขนาด 400 ตารางวา (1,600 ตารางเมตร) รวม 2,320 ตารางเมตร (580 ตารางวา) กิจกรรมสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น เป้าหมายปี 2564 ที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ = 2,570 ตารางเมตร สรุปได้ 3,160 ตารางเมตร = 122.96% ดำเนินการครบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สรุปรายงานผล

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(10) กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๖.๒ - เมืองแห่งนักท่องเที่ยวระดับโลก๖.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยวระดับโลก
กรุงเทพมหานครมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวและจัดจำหน่ายสินค้าชุมชนของผู้ประกอบการชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมอย่างน้อย

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมอย่างน้อย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวทางน้ำ​ ตามโครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม 2563 โดยเป็นกิจกรรมล่องเรือชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ตามเส้นทางคลองบางกอกน้อย​-คลองชักพระ-คลองบางหลวง​ ครอบคลุมพื้นที่​ 3​ เขต​ ได้แก่​ เขตบางกอกน้อย​ ตลิ่งชัน​ และภาษีเจริญ ผ่านสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางกอกน้อย ภายในรร.สุวรรณารามวิทยาคม, วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร, ตลาดวัดสุวรรณาราม (ตลาดไร้คาน), ขันลงหินและเครื่องสแตนเลส ชุมชนบ้านบุ, วัดนายโรง​, ตลาดน้ำสองคลองวัดตลิ่งชัน​, บ้านศิลปิน​, วัดคูหาสวรรค์ และวัดกำแพงบางจาก เขตภาษีเจริญ รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมสาธิตภูมิปัญญาการทำข้าวเม่าหมี่โบราณของชุมชนตรอกข้าวเม่า​ สาธิตภูมิปัญญาการทำมะตูมเชื่อม​ สาธิตการวิ่งม้าแก้บน​ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นทั้ง 2 แห่งของสำนักงานเขตบางกอกน้อย และเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมฝั่งธนบุรี โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน ประกอบด้วย สื่อมวลชนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กลุ่มมัคคุเทศก์ ผู้แทนหน่วยงานในพื้นที่ เครือข่ายภาคประชาชน เยาวชน และประชาชนทั่วไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดกิจกรรมถนนคนเดิน ช็อป ชิม ชม ระหว่างวันที่ 19-28 มีนาคม 2564 ณ​ ลานอเนกประสงค์ ริมถนนจรัญสนิทวงศ์ ติดสถานีรถไฟฟ้า MRT บางขุนนนท์ โดยภายในงาน มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้า OTOP จากเขตบางกอกน้อย และพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการแล้ว จำนวน 2 ครั้ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ครั้งที่ 1 ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวทางน้ำ ตามโครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม 2563 โดยเป็นกิจกรรมล่องเรือ ชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ตามเส้นทางคลอง บางกอกน้อย-คลองชักพระ-คลองบางหลวง ครอบคลุมพื้นที่ 3 เขต ได้แก่ เขตบางกอกน้อย ตลิ่งชัน และภาษีเจริญ ผ่านสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางกอกน้อย ภายในรร.สุวรรณารามวิทยาคม, วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร, ตลาดวัดสุวรรณาราม (ตลาดไร้คาน), ขันลงหิน และเครื่องสแตนเลส ชุมชนบ้านบุ, วัดนายโรง, ตลาดน้ำสองคลองวัดตลิ่งชัน, บ้านศิลปิน, วัดคูหาสวรรค์ และวัดกำแพงบางจาก เขตภาษีเจริญ รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมสาธิตภูมิปัญญาการทำข้าวเม่าหมี่โบราณของชุมชนตรอกข้าวเม่า สาธิตภูมิปัญญาการทำมะตูมเชื่อม สาธิตการวิ่งม้าแก้บน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นทั้ง 2 แห่งของสำนักงานเขตบางกอกน้อย และเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมฝั่งธนบุรี ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน ประกอบด้วย สื่อมวลชนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กลุ่มมัคคุเทศก์ ผู้แทนหน่วยงานในพื้นที่ เครือข่าย ภาคประชาชน เยาวชน และประชาชนทั่วไป โดยเก็บแบบสอบถาม จำนวน 67 ชุด ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความ พึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 89.05 ครั้งที่ 2 ดำเนินการจัดกิจกรรมถนนคนเดิน ช็อป ชิม ชม ระหว่างวันที่ 19-28 มีนาคม 2564 ณ ลานอเนกประสงค์ ริมถนนจรัญสนิทวงศ์ ติดสถานีรถไฟฟ้า MRT บางขุนนนท์ โดยภายในงาน มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้า OTOP จากเขตบางกอกน้อย และพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรค ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ประชาชนทั่วไป และผู้ค้า/ผู้ประกอบการ รวมจำนวน 50 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 89.15

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการแล้ว จำนวน 2 ครั้ง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ครั้งที่ 1 ดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวทางน้ำ ตามโครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร ในวันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม 2563 โดยเป็นกิจกรรมล่องเรือ ชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ตามเส้นทางคลอง บางกอกน้อย-คลองชักพระ-คลองบางหลวง ครอบคลุมพื้นที่ 3 เขต ได้แก่ เขตบางกอกน้อย ตลิ่งชัน และภาษีเจริญ ผ่านสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางกอกน้อย ภายในรร.สุวรรณารามวิทยาคม, วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร, ตลาดวัดสุวรรณาราม (ตลาดไร้คาน), ขันลงหิน และเครื่องสแตนเลส ชุมชนบ้านบุ, วัดนายโรง, ตลาดน้ำสองคลองวัดตลิ่งชัน, บ้านศิลปิน, วัดคูหาสวรรค์ และวัดกำแพงบางจาก เขตภาษีเจริญ รวมทั้งจัดให้มีกิจกรรมสาธิตภูมิปัญญาการทำข้าวเม่าหมี่โบราณของชุมชนตรอกข้าวเม่า สาธิตภูมิปัญญาการทำมะตูมเชื่อม สาธิตการวิ่งม้าแก้บน เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นทั้ง 2 แห่งของสำนักงานเขตบางกอกน้อย และเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมฝั่งธนบุรี ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 80 คน ประกอบด้วย สื่อมวลชนจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) กลุ่มมัคคุเทศก์ ผู้แทนหน่วยงานในพื้นที่ เครือข่าย ภาคประชาชน เยาวชน และประชาชนทั่วไป โดยเก็บแบบสอบถาม จำนวน 67 ชุด ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความ พึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 89.05 ครั้งที่ 2 ดำเนินการจัดกิจกรรมถนนคนเดิน ช็อป ชิม ชม ระหว่างวันที่ 19-28 มีนาคม 2564 ณ ลานอเนกประสงค์ ริมถนนจรัญสนิทวงศ์ ติดสถานีรถไฟฟ้า MRT บางขุนนนท์ โดยภายในงาน มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน สินค้า OTOP จากเขตบางกอกน้อย และพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรค ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ผลการดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ประชาชนทั่วไป และผู้ค้า/ผู้ประกอบการ รวมจำนวน 50 คน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 89.15

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :90.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

0 / 0
3
75.00

0 / 0
4
90.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สามารถดำเนินโครงการงานประจำได้ตามแผนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สามารถดำเนินโครงการงานประจำได้ตามแผนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สามารถดำเนินโครงการงานประจำได้ตามแผนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

บางโครงการยังอยู่ระหว่างการเบิกจ่าย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :100.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
30.00

0 / 0
3
70.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ได้ดำเนินการจัดทำคำสั่งคณะทำงานฯ พร้อมทั้งเวียนแจ้งการดำเนินการตามตัวชี้วัดเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการจัดประชุมการคัดเลือกโครงการนวัตกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ได้ดำเนินการจัดทำระบบจองห้องประชุมผ่ายคิวอาร์โค๊ด และทดสอบการใช้งานภายในหน่วยงาน เพื่อพัฒนาให้สมบูรณ์ต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ได้ประชาสัมพันธ์ให้ส่วนราชการภายในสำนักงานเขตจองห้องประชุมผ่านระบบจองห้องประชุมที่จัดทำขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(13) ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม
[มิติที่ 1 : ]

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ความสำเร็จของการเบิกจ่ายงบประมาณในภาพรวม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :71.95

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.93

100 / 100
2
26.09

0 / 0
3
51.25

0 / 0
4
71.95

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น เป็นเงิน 13,231,443.14 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.93%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

หน่วยงานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น เป็นเงิน 38,683,338.13บาท คิดเป็นร้อยละ 26.09%

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

งานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น คิดเป็นร้อยละ 51.25

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

งานสามารถดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 รวม 5 หมวดรายจ่าย ได้แก่ หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมวดเงินอุดหนุน และหมวดรายจ่ายอื่น คิดเป็นร้อยละ71.95

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) ความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ
[มิติที่ 1 : ]

๗.๕ - เทคโนโลยีสารสนเทศ๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์
ความสำเร็จในการพัฒนาและจัดเก็บฐานข้อมูลที่มีความสำคัญต่อการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
35.00

0 / 0
3
70.00

0 / 0
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ได้ดำเนินการจัดทำคำสั่ง และชี้แจงการดำเนินงาน พร้อมทั้งคัดเลือกหัวข้อที่จะดำเนินการในปีนี้เรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดส่งเอกสารรายงานตามขั้นตอนที่ 2 ให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดส่งเอกสารรายงานตามขั้นตอนที่ 4 ให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการนำเข้าและปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทั้งสิ้น 23 ฐานข้อมูล ในระบบบันทึกฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัด 5.2เรียบร้อยปล้ว และได้ดำเนินการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลทางเว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลเปิดภาครัฐกรุงเทพมหานคร (http://data.bangkok.go.th) ภายในกำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **