**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
(1)
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 :
]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :73.91 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานของโครงการ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 5 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 11 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 34 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 73.91
(2)
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 :
]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :73.91 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานของโครงการ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 5 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 11 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 34 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 73.91
(3)
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 :
]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :73.91 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานของโครงการ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 5 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 11 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 34 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 73.91
(4)
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 :
]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :73.91 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
อยู่ระหว่างดำเนินการตามแผนงานของโครงการ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 5 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
-มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 11 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จจำนวน 34 โครงการ/กิจกรรม จากโครงการที่เป็นงานประจำทั้งหมด 46 โครงการ/กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 73.91
๑.๑ - ปลอดมลพิษ
(5)
2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1 | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :15.00 ผลงาน :18.55 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
- จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการลดและแยกขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ตามชนิดมูลฝอย และส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ โดยการลงพื้นที่บริเวณชุมชน สถานประกอบการในพื้นที่ - จัดกิจกรรมเคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะก่อนทิ้ง แจกแผ่นพับ หนังสือ - จัดกิจกรรม “แยกก่อนทิ้ง” โดยให้ พขบ. คัดแยกมูลฝอยนำกลับมาใช้ประโยชน์ เป็นการกำจัดมูลฝอยต้นแต่ต้นทาง - เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2562 ดำเนินการได้ 2,508 ตัน คิดเป็นร้อยละ 3.59 ของเป้าหมายร้อยละ 20 (13,966.69 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562 - กุมภาพันธ์ 2563 ดำเนินการได้ 6,528.41 ตันคิดเป็นร้อยละ 9.35 ของเป้าหมายร้อยละ 20 (13,966.69 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562 - พฤษภาคม 2563 ดำเนินการได้ 9,514.74 ตัน คิดเป็นร้อยละ 13.62 ของเป้าหมายร้อยละ 20 (13,966.69 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 ดำเนินการได้ 16,548.94 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 18.55 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (13,384.78 ตัน/ปี) ทั้งนี้ ได้มีการปรับเป้าหมายตัวชี้วัดลงจากเป้าหมายร้อยละ 20เป็นร้อยละ 15 ตามหนังสือ กท 0502/1190 ลว 2 ก.ค. 63
๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
(6)
2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :15.00 ผลงาน :18.55 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
- จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการลดและแยกขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ตามชนิดมูลฝอย และส่งเสริมการแปรรูปขยะเศษอาหารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ โดยการลงพื้นที่บริเวณชุมชน สถานประกอบการในพื้นที่ - จัดกิจกรรมเคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนคัดแยกขยะก่อนทิ้ง แจกแผ่นพับ หนังสือ - จัดกิจกรรม “แยกก่อนทิ้ง” โดยให้ พขบ. คัดแยกมูลฝอยนำกลับมาใช้ประโยชน์ เป็นการกำจัดมูลฝอยต้นแต่ต้นทาง - เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2562 ดำเนินการได้ 2,508 ตัน คิดเป็นร้อยละ 3.59 ของเป้าหมายร้อยละ 20 (13,966.69 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562 - กุมภาพันธ์ 2563 ดำเนินการได้ 6,528.41 ตันคิดเป็นร้อยละ 9.35 ของเป้าหมายร้อยละ 20 (13,966.69 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562 - พฤษภาคม 2563 ดำเนินการได้ 9,514.74 ตัน คิดเป็นร้อยละ 13.62 ของเป้าหมายร้อยละ 20 (13,966.69 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 ดำเนินการได้ 16,548.94 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 18.55 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (13,384.78 ตัน/ปี) ทั้งนี้ ได้มีการปรับเป้าหมายตัวชี้วัดลงจากเป้าหมายร้อยละ 20เป็นร้อยละ 15 ตามหนังสือ กท 0502/1190 ลว 2 ก.ค. 63
๑.๑ - ปลอดมลพิษ
(7)
2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1 | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :10.83 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
- จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการคัดแยกมูลฝอยอันตราย โดยการลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ตามกลุ่มเป้าหมายโครงการ พร้อมทั้งแจกประกาศ และหนังสือ - จัดกิจกรรม“แยกก่อนทิ้ง”โดยให้ พขบ. คัดแยกมูลฝอยอันตรายออกจากมูลฝอยประเภทอื่น เป็นการกำจัดขยะต้นแต่ต้นทาง - จัดสถานที่พักรวมมูลฝอยอันตราย แยกประเภท ก่อนนำส่งศูนย์กำจัดมูลฝอยหนองแขม - เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2562 ดำเนินงานได้ 3.03 ตัน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (14.21 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562- กุมภาพันธ์ 2563 ดำเนินงานได้ 7.77ตัน คิดเป็นร้อยละ 8.2 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (14.21 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562- พฤษภาคม 2563 ดำเนินงานได้ 10.86 ตัน คิดเป็นร้อยละ 11.5 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (14.21 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562- กันยายน 2563 ดำเนินงานได้ 14.73 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 10.83 ของเป้าหมายร้อยละ 10 (13.60 ตัน/ปี) ทั้งนี้ ได้มีกาปรับเป้าหมายตัวชี้วัดลงจากเป้าหมายร้อยละ 15 เป็นร้อยละ 10 ตามหนังสือ กท 0502/1190 ลว 2 ก.ค. 63
๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
(8)
2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :10.83 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
- จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในการคัดแยกมูลฝอยอันตราย โดยการลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ตามกลุ่มเป้าหมายโครงการ พร้อมทั้งแจกประกาศ และหนังสือ - จัดกิจกรรม“แยกก่อนทิ้ง”โดยให้ พขบ. คัดแยกมูลฝอยอันตรายออกจากมูลฝอยประเภทอื่น เป็นการกำจัดขยะต้นแต่ต้นทาง - จัดสถานที่พักรวมมูลฝอยอันตราย แยกประเภท ก่อนนำส่งศูนย์กำจัดมูลฝอยหนองแขม - เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2562 ดำเนินงานได้ 3.03 ตัน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (14.21 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562- กุมภาพันธ์ 2563 ดำเนินงานได้ 7.77ตัน คิดเป็นร้อยละ 8.2 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (14.21 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562- พฤษภาคม 2563 ดำเนินงานได้ 10.86 ตัน คิดเป็นร้อยละ 11.5 ของเป้าหมายร้อยละ 15 (14.21 ตัน/ปี)
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- เดือนตุลาคม 2562- กันยายน 2563 ดำเนินงานได้ 14.73 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 10.83 ของเป้าหมายร้อยละ 10 (13.60 ตัน/ปี) ทั้งนี้ ได้มีกาปรับเป้าหมายตัวชี้วัดลงจากเป้าหมายร้อยละ 15 เป็นร้อยละ 10 ตามหนังสือ กท 0502/1190 ลว 2 ก.ค. 63
๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
(9)
3 พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
- ดำเนินการจัดทำแผนการปฏิบัติงานการตรวจจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรมเพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน จำนวน ๒๒ จุด - ดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย - เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด - เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัยอย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด - ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย โดยฝ่ายโยธา ฝ่ายเทศกิจและฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ - ดำเนินการปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกและกวดขันด้านการจราจร
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- ดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย - เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด - เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัยอย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด - ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย โดยฝ่ายโยธา ฝ่ายเทศกิจและฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ - ดำเนินการปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกและกวดขันด้านการจราจร
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- ดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย - เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด - เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัยอย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด - ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย โดยฝ่ายโยธา ฝ่ายเทศกิจและฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ - ดำเนินการปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกและกวดขันด้านการจราจร
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- ดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย - เจ้าหน้าที่เทศกิจเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) อย่างน้อย 2 ครั้ง/วัน/จุด - เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัยอย่างน้อย 1 ครั้ง/วัน/จุด - ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย โดยฝ่ายโยธา ฝ่ายเทศกิจและฝ่ายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ - ดำเนินการปฏิบัติหน้าที่อำนวยความสะดวกและกวดขันด้านการจราจร
๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
(10)
4 ร้อยละของจำนวนคลองที่ถูกฟื้นฟู ปรับปรุง และคืนสภาพเพื่อเป็นแก้มลิงธรรมชาติและมีระบบระบายน้ำที่ดีขึ้น
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
- จัดทำแผนปฏิบัติการเตรียมการป้องกันปัญหานำ้ท่วมในพื้นที่ประจำปี ๒๕๖๓ - ดำเนินการกำจัดวัชพืช ตักขยะ และเปิดทางน้ำไหล คลองวัดน้อยใหม่ คลองข้างวัดอนงค์ และคลองต้นไทร - เตรียมดำเนินการขุดลอกคลอง
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- ดำเนินการกำจัดวัชพืช ตักขยะ และเปิดทางน้ำไหล คลองวัดน้อยใหม่ คลองข้างวัดอนงค์ และคลองต้นไทร - เตรียมลงนามสัญญาขุดลอกคลองโรงปลา คลองวัดทองธรรมชาติและคลองแยกคลองวัดทองธรรมชาติ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- ดำเนินการกำจัดวัชพืช ตักขยะ และเปิดทางน้ำไหล คลองวัดน้อยใหม่ คลองข้างวัดอนงค์ และคลองต้นไทร - ขุดลอกคลองโรงปลา คลองวัดทองธรรมชาติและคลองแยกคลองวัดทองธรรมชาติเสร็จเรียบร้อยแล้ว
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- ดำเนินการขุดลอก จัดเก็บขยะวัชพืช เปิดทางน้ำไหล - จัดกิจกรรมรณรงค์ไม่ทิ้งขยะในคลอง
(11)
5 จำนวนครั้งของการดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ครั้ง เป้าหมาย :3.00 ผลงาน :8.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ครั้ง)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
- จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานฯ - จัดทำแผนการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และดำเนินการร่วมซ้อมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 4 ครั้ง ได้แก่ 1.โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์ อินน์ สาทร ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 2. ห้างสรรพสินค้าไอคอนสยาม ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 3. ชุมชนซอยวนาวรรณ และชุมชนข้างเคียง ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2562 4. นิติบุคคลอาคารชุด ศุภาลัย ริเวอร์ เพลส ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2562
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-ดำเนินการร่วมซ้อมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๔ ครั้ง
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
-ดำเนินการร่วมซ้อมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๔ ครั้ง
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
- ประชุม จัดทำแผนการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง - ดำเนินการฝึกซ้อมตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 8 ครั้ง จากเป้าหมาย 3 ครั้ง ดังนี้ 1.โรงแรมแกรนด์ ทาวเวอร์ อินน์ สาทร ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 2. ห้างสรรพสินค้าไอคอนสยาม ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 3. ชุมชนซอยวนาวรรณ และชุมชนข้างเคียง เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2562 4. นิติบุคคลอาคารชุด ศุภาลัย ริเวอร์ เพลส ชุมชนและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2562 5. วัดพิชยญาติการามฯ ชุมชนข้างเคียงและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2563 6. ชุมชนอู่ใหม่ ชุมชนข้างเคียงและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2563 7. วัดสุวรรณ ชุมชนข้างเคียงและเครือข่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2563 8. สำนักงานเขตคลองสาน ดำเนินการร่วมซ้อมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2563
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
(12)
6 ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
1.ตรวจสุขลักษณะทางกายภาพ 80 แห่ง 2.ตรวจสอบคุณภาพอาหารและเก็บตัวอย่างอาหารมาตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนของอาหาร - ชุดทดสอบเบื้องต้น จำนวน 887 ตัวอย่าง - ชุดตรวจ SI2 จำนวน 514 ตัวอย่าง - ชุดตรวจ อ.11 จำนวน 155 ตัวอย่าง ผลการตรวจวิเคราะห์ พบว่าไม่มีการปนเปื้อนจากอาหารที่นำมาวิเคราะห์
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-จำนวนสถานประประกอบการอาหารได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 455 ราย ประกอบด้วย 1.สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 324 ราย 2.สถานที่สะสมอาหาร จำนวน 63 ราย 3.ตลาดประเภทที่ 1 จำนวน 3 ราย 4.ตลาดประเภทที่ 2 จำนวน 7 ราย 5.แผงลอยจำหน่ายอาหาร จำนวน 58 ราย
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- จำนวนสถานประกอบการอาหารได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 474 ราย
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-ดําเนินการตรวจประเมินสถานประกอบการด้านอาหารรายใหม่/รายต่อ และได้รับป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยแล้ว จํานวน 482 ราย จาก 482 ราย คิดเป็นร้อยละ 100
๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
(13)
7 พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
อยู่ระหว่างสำรวจพื้นที่เพิ่มเติมและจัดทำหนังสือเพื่อขอความร่วมมือไปยังพื้นที่เอกชน กลุ่มเป้าหมาย และรายงานผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ไปยังสำนักสิ่งแวดล้อม
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-สามารถเพิ่มพื้นที่สีเขียว 7 ประเภท ได้จำนวน 2 แห่ง ดังนี้ 1. สวนหย่อมห้างสรรพสินค้า Icon Siam ถนนเจริญนคร ขนาดพื้นที่ 1 งาน 2. สวนหย่อมอาคารชุดแมกโนเลียส์ วอเตอร์ฟรอนท์ เรสซิเดนซ์ ขนาดพื้นที่ 1 งาน ขนาดพื้นที่รวม 2 งาน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
สามารถเพิ่มพื้นที่สีเขียว 7 ประเภท ได้จำนวน 2 แห่ง รวมขนาดพื้นที่ 800 ตารางเมตร จากเป้าหมาย 3 แห่ง (508 ตารางเมตร) ดังนี้ 1. สวนหย่อมห้างสรรพสินค้า Icon Siam ถนนเจริญนคร ขนาดพื้นที่ 1 งาน 2. สวนหย่อมอาคารชุดแมกโนเลียส์ วอเตอร์ฟรอนท์ เรสซิเดนซ์ ขนาดพื้นที่ 1 งาน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ 1. สวนหย่อมห้างสรรพสินค้า Icon Siam ขนาดพื้นที่ 1 งาน 2. สวนหย่อมอาคารชุดแมกโนเลียส์ วอเตอร์ฟรอนท์ เรสซิเดนซ์ ขนาดพื้นที่ 1 งาน 3.สวนหย่อมริมคลองพณาโรจน์ ขนาดพื้นที่ 20 ตารางวา 4.สวนหย่อมตีโต้คอร์ท ขนาดพื้นที่ 10 ตารางวา ขนาดพื้นที่รวม 2 งาน 30 ตารางวา หรือ 920 ตารางวา จากเป้าหมายร้อยละ 100 (จำนวน 3 แห่ง ขนาดพื้นที่1 งาน 15 ตารางวา หรือ 460 ตารางเมตร)
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
(14)
8.1 จำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ภูมิปัญญา เป้าหมาย :3.00 ผลงาน :3.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ภูมิปัญญา)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
-สืบหา ค้นหา สรรหา ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุ -ดำเนินการสรรหาภูมิปัญญาได้ จำนวน ๑ ภูมิปัญญา ได้แก่ ภูมิปัญญาการทำหัวสิงโต ของนายสุเมธ แสงสวย
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
สรรหาภูมิปัญญาได้ทั้งสิ้น 3 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
สรรหาภูมิปัญญาได้ทั้งสิ้น 3 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-สรรหาภูมิปัญญาได้ทั้งสิ้น 3 ภูมิปัญญา จากเป้าหมาย 3 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ
๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
(15)
8.1 จำนวนภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ภูมิปัญญา เป้าหมาย :3.00 ผลงาน :3.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ภูมิปัญญา)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
-สืบหา ค้นหา สรรหา ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุ -ดำเนินการสรรหาภูมิปัญญาได้ จำนวน ๑ ภูมิปัญญา ได้แก่ ภูมิปัญญาการทำหัวสิงโต ของนายสุเมธ แสงสวย
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
สรรหาภูมิปัญญาได้ทั้งสิ้น 3 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
สรรหาภูมิปัญญาได้ทั้งสิ้น 3 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-สรรหาภูมิปัญญาได้ทั้งสิ้น 3 ภูมิปัญญา จากเป้าหมาย 3 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
(16)
8.2 จำนวนครั้งในการถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นใหม่
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ครั้ง (ครบทุกภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง) เป้าหมาย :3.00 ผลงาน :3.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ครั้ง (ครบทุกภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง))
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
-สรรหาและเตรียมการเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 2 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง ครีั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 3 ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง ครีั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 -ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 3 ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง จากเป้าหมาย ให้ดำเนินการเผยแพร่ครบทุกภูมิปัญญา (3 ภูมิปัญญา) ภูมิปัญญาละอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี ได้แก่ (1) ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ เผยแพร่ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 (2) ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง เผยแพร่ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 (3) ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย เผยแพร่ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563
๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
(17)
8.2 จำนวนครั้งในการถ่ายทอดและเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นใหม่
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ครั้ง (ครบทุกภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง) เป้าหมาย :3.00 ผลงาน :3.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ครั้ง (ครบทุกภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง))
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
-สรรหาและเตรียมการเผยแพร่ภูมิปัญญาจากปราชญ์ท้องถิ่นหรือผู้สูงอายุ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 2 ภูมิปัญญา ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง ครีั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 3 ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง ได้แก่ - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 - ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง ครีั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 -ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-ดำเนินการเผยแพร่ภูมิปัญญาแล้ว จำนวน 3 ภูมิปัญญา ภูมิปัญญาละ 1 ครั้ง จากเป้าหมาย ให้ดำเนินการเผยแพร่ครบทุกภูมิปัญญา (3 ภูมิปัญญา) ภูมิปัญญาละอย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี ได้แก่ (1) ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ผลิตภัณฑ์จากใบเตย) โดยนางศิริ หนูเจริญ เผยแพร่ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2563 (2) ภูมิปัญญาสาขาหัตถกรรม (ดอกไม้จันทร์) โดยนางสาวกนกวรรณ คล้ายทอง เผยแพร่ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 (3) ภูมิปัญญาสาขาศิลปกรรม (หัวสิงโต) โดยนายสุเมธ แสงสวย เผยแพร่ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563
๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน
(18)
9 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :65.10 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
ดำเนินการจัดสอนเสริมแบบเข้มให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้ง 8 โรงเรียน จำนวน 10 วัน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- จัดสอนเสริมแบบเข้มให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้ง 8 โรงเรียน จำนวน 10 วัน - ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คะแนนรวม 6.71 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คะแนนรวม 6.66 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที 6 คะแนนรวม 6.16 คะแนนสำนักงานเขต (เต็ม 10 คะแนน) ได้แก่ 6.51
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คะแนนรวม 6.71 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คะแนนรวม 6.66 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที 6 คะแนนรวม 6.16 คะแนนสำนักงานเขต (เต็ม 10 คะแนน) ได้แก่ 6.51
(19)
9 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :65.10 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
ดำเนินการจัดสอนเสริมแบบเข้มให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้ง 8 โรงเรียน จำนวน 10 วัน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
- จัดสอนเสริมแบบเข้มให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้ง 8 โรงเรียน จำนวน 10 วัน - ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คะแนนรวม 6.71 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คะแนนรวม 6.66 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที 6 คะแนนรวม 6.16 คะแนนสำนักงานเขต (เต็ม 10 คะแนน) ได้แก่ 6.51
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 คะแนนรวม 6.71 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คะแนนรวม 6.66 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที 6 คะแนนรวม 6.16 คะแนนสำนักงานเขต (เต็ม 10 คะแนน) ได้แก่ 6.51
๗.๔ - การคลังและงบประมาณ
(20)
10.1 ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
-สำรวจและจัดทำบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อการแจ้งประเมินภาษี
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-ดำเนินการจัดทำบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อเตรียมการประกาศพร้อมจัดส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ผุ้เสียภาษีแต่ละรายทราบ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- สำรวจข้อมูลการใช้ประโยชน์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/ห้องชุด - ประกาศบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด (แบบ ภ.ด.ส.4) พร้อมทั้งจัดส่งข้อมูลตามประกาศบัญชีให้ผู้เสียภาษีแต่ละรายทราบ - รับคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการห้องชุด พร้อมทั้งดำเนินการตามขั้นตอนและแก้ไขข้อมูลตามคำร้อง - บันทึกข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในระบบ P-tax 2 - ประกาศบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (แบบภ.ด.ส. 3) - รับคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/บัญชีรายการห้องชุด (เพิ่มเติม) - ประกาศราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-ดำเนินการแจ้งประเมินภาษีได้จำนวน 13,514 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100 จาก 13,514 ฉบับ
(21)
10.2 ร้อยละของการบังคับภาษี
[มิติที่ 1 :
ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 |
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
-ดำเนินการจัดทำบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อเตรียมการประกาศพร้อมจัดส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ผุ้เสียภาษีแต่ละรายทราบ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
-ดำเนินการจัดทำบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อเตรียมการประกาศพร้อมจัดส่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ผุ้เสียภาษีแต่ละรายทราบ
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
- สำรวจข้อมูลการใช้ประโยชน์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/ห้องชุด - ประกาศบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด (แบบ ภ.ด.ส.4) พร้อมทั้งจัดส่งข้อมูลตามประกาศบัญชีให้ผู้เสียภาษีแต่ละรายทราบ - รับคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการห้องชุด พร้อมทั้งดำเนินการตามขั้นตอนและแก้ไขข้อมูลตามคำร้อง - บันทึกข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในระบบ P-tax 2 - ประกาศบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (แบบภ.ด.ส. 3) - รับคำร้องขอแก้ไขบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง/บัญชีรายการห้องชุด (เพิ่มเติม) - ประกาศราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
-ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง ขยายกำหนดเวลาดำเนินการตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2563 ได้ขยายกำหนดเวลาการชำระภาษีไปในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ทำให้ยังไม่มีการดำเนินการบังคับภาษี