ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 50330000

Home Home SED


**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

(1) ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-การดำเนินการเสร็จสิ้นตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-การดำเนินการเสร็จสิ้นตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-การดำเนินการเสร็จสิ้นตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย
[มิติที่ 1 : ]

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
ร้อยละความสำเร็จของงานประจำของสำนักงานเขตคลองเตย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-อยู่ระหว่างการดำเนินตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-การดำเนินการเสร็จสิ้นตามหลักเกณฑ์ตัวชี้วัดของโครงการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(5) 1. ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
1. ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ฐานข้อมูล

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฐานข้อมูล)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
40.00

100 / 100
3
90.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดส่งข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตคลองเตยให้สำนักการระบายน้ำภายในเดือนธันวาคม 2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจที่กำหนด และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร ให้แก่สถานประกอบการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สำรวจและจัดทำข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจที่กำหนด -ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดส่งข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตคลองเตยให้สำนักการระบายน้ำภายในเดือนธันวาคม 2562 (ตามหนังสือ ที่ กท 7204/6449 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2562) 2. สำรวจและจัดทำข้อมูลเสียตามแบบสำรวจฯ ส่งให้สำนักการระบายน้ำ (ตามหนังสือ ที่ กท 7204/3923 ลงวันที่ 26 สิงหาคม 2563) 3. ประชาสัมพันธ์การดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร ให้แก่สถานประกอบการในกลุ่มเป้าหมาย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) 2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด 2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :20.35


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.24

100 / 100
2
9.33

100 / 100
3
13.29

100 / 100
4
20.35

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2562 ได้ปริมาณ 6,659.40 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 4,420.35 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 2,339.05 ตัน 2. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 4.24 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 20 คือ 31,392.37 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2563 ได้ปริมาณ 7,883.45 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 6,599.96 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 1,283.49 ตัน 2. ผลการดำเนินงานไตรมาส 1 และไตรมาส 2 คิดเป็นร้อยละ 9.33 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 20 คือ 31,392.37 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนเมษายน – พฤษภาคม 2563 ได้ปริมาณ 6,217.403 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 4,660.303 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 1,557.10 ตัน 2. ผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ถึงไตรมาส 3 คิดเป็นร้อยละ 13.29 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 20 คือ 31,392.37 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2563 ได้ปริมาณ 20,050.577 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 15,709.437 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 4,241.14 ตัน 2. ผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ถึงไตรมาส 4 คิดเป็นร้อยละ 20.35จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 30,084.44 ตัน/ปี หรือคิดเป็นร้อยละความสำเร็จ : ร้อยละ 135.65

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(7) 2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด 2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :20.35

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.24

100 / 100
2
9.33

100 / 100
3
13.29

100 / 100
4
20.35

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2562 ได้ปริมาณ 6,659.40 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 4,420.35 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 2,339.05 ตัน 2. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 4.24 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 20 คือ 31,392.37 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2563 ได้ปริมาณ 7,883.45 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 6,599.96 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 1,283.49 ตัน 2. ผลการดำเนินงานไตรมาส 1 และไตรมาส 2 คิดเป็นร้อยละ 9.33 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 20 คือ 31,392.37 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนเมษายน – พฤษภาคม 2563 ได้ปริมาณ 6,217.403 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 4,660.303 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 1,557.10 ตัน 2. ผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ถึงไตรมาส 3 คิดเป็นร้อยละ 13.29 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 20 คือ 31,392.37 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1. ดำเนินการคัดแยกมูลฝอยและนำกลับไปใช้ประโยชน์ ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2563 ได้ปริมาณ 20,050.577 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) ประเภทขยะรีไซเคิล เศษวัสดุก่อสร้าง เศษไม้ ขยะชิ้นใหญ่ ปริมาณ 15,709.437 ตัน 2) ประเภทขยะอินทรีย์ ปริมาณ 4,241.14 ตัน 2. ผลการดำเนินงานไตรมาส 1 ถึงไตรมาส 4 คิดเป็นร้อยละ 20.35จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 30,084.44 ตัน/ปี หรือคิดเป็นร้อยละความสำเร็จ : ร้อยละ 135.65

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(8) 2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด 2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :5.27

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.62

100 / 100
2
3.33

100 / 100
3
4.94

100 / 100
4
5.27

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2562 ได้ปริมาณ 3.46 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 2.25 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.21 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 0.20 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 0.80 ตัน 3. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 1.62 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนมกราคม – มีนาคม 2563 ได้ปริมาณ 3.63 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.98 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.06 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 0.005 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1 ตัน 5) สีหมดอายุ 1.59 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 3.33 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนเมษายน – มิ.ย 2563 ได้ปริมาณ 3.44 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.80 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.19 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 1 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1.45 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาสที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 4.94 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – ต.ค.2563 ได้ปริมาณ 5.55 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.365 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.085 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 3.40 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1.70 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาสที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 5.27 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนด ร้อยละ 10 คือ 30.58 ตัน/ปี หรือคิดเป็นร้อยละความสำเร็จ : ร้อยละ 52.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(9) 2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด 2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
2. การลดและการคัดแยกมูลฝอยที่แหล่งกำเนิด
2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (993 ตันต่อปี)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :5.27

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.62

100 / 100
2
3.33

100 / 100
3
4.94

100 / 100
4
5.27

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2562 ได้ปริมาณ 3.46 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 2.25 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.21 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 0.20 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 0.80 ตัน 3. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 1.62 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนมกราคม – มีนาคม 2563 ได้ปริมาณ 3.63 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.98 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.06 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 0.005 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1 ตัน 5) สีหมดอายุ 1.59 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 3.33 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนเมษายน – มิ.ย 2563 ได้ปริมาณ 3.44 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.80 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.19 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 1 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1.45 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาสที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 4.94 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนดร้อยละ 15 คือ 31.95 ตัน/ปี

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายจากกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ชุมชน สถานประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 54 แห่ง โดยจัดทำแผนการเข้าจัดเก็บทุกวันอาทิตย์ 2. ดำเนินการจัดเก็บขยะอันตรายตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – ต.ค.2563 ได้ปริมาณ 5.55 ตัน แยกประเภทได้ ดังนี้ 1) หลอดฟูออเรสเซนต์ ปริมาณ 0.365 ตัน 2) ถ่านไฟฉาย /แบตเตอรี่ ปริมาณ 0.085 ตัน 3) บรรจุภัณฑ์ปนเปื้อน ปริมาณ 3.40 ตัน 4) ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณ 1.70 ตัน 3. ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาสที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 5.27 จากค่าเป้าหมายที่ สสล.กำหนด ร้อยละ 10 คือ 30.58 ตัน/ปี หรือคิดเป็นร้อยละความสำเร็จ : ร้อยละ 52.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(10) 3. พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
3. พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง ฯ - ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัย - ดำเนินการติดตั้งตู้เขียวในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อกำหนดเป็นจุดสำหรับให้เจ้าหน้าที่เทศกิจลงบันทึกการตรวจพื้นที่ฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง ฯ - จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัย - ดำเนินการติดตั้งตู้เขียวในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อกำหนดเป็นจุดสำหรับให้เจ้าหน้าที่เทศกิจลงบันทึกการตรวจพื้นที่ฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ตัดต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง ฯ - จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดเสี่ยงภัย - ดำเนินการติดตั้งตู้เขียวในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อกำหนดเป็นจุดสำหรับให้เจ้าหน้าที่เทศกิจลงบันทึกการตรวจพื้นที่ฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราดูแลเพื่อป้องกันอาชญากรรม 2 ครั้ง/วัน/จุด ได้แก่ 1) ทางเข้าชุมชนพัฒนา (คั่วพริก) ถนนสุนทรโกษา 2) หลังโรงแรมพระโขนง (37) ซอยภูมิจิตร ถนนพระรามที่ 4 3) บริเวณท่าเรือภาษี (กรมศุลกากร) 2. จุดเสี่ยงภัยที่ติดตั้งกล้องวงจรปิด (CCTV) มีการตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) 2 ครั้ง/วัน/จุด หากพบว่ามีการชำรุดได้มีการจัดทำหนังสือประสานฝ่ายปกครองแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการแก้ไข 3. ดำเนินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียว) 2 ครั้ง/วัน/จุด ได้แก่ 1) ก่อนปากซอยแสนสบาย ถนน พระรามที่ 4 2) หน้าสวนชูวิทย์ 3) ลานหิมะทองคำใต้ทางด่วนสุขุมวิท 50 4) ใต้สะพานพระโขนง 5) ใต้ทางด่วนอาจณรงค์ 6) หน้าอาคารซีทรานต์ 7) ซอยฟาร์มวัฒนา 9) หน้าอาคาร เอส เอส พี ซิตี้ ถนน ณ ระนอง 10) หน้าโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ 11) กลางซอยสุขุมวิท 16

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) 4. อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
4. อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน โดยมีแผนการดำเนินกิจกรรมระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ - มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. กำหนดอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 2. กำหนดจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก วันที่ 26 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ยกเลิกการอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ที่จะจัดขึ้นภายในเดือนพฤษภาคม 2563 2. ยกเลิกการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก วันที่ 26 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ได้ยกเลิกการจัดกิจกรรมทั้งหมดและคืนงบประมาณเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(12) 4. อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
4. อาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดมีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังยาเสพติดตามภารกิจ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน โดยมีแผนการดำเนินกิจกรรมระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ - มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. กำหนดอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ภายในเดือนพฤษภาคม 2563 2. กำหนดจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก วันที่ 26 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1. ยกเลิกการอบรมสร้างเสริมสมรรถภาพอาสาสมัครฯ ที่จะจัดขึ้นภายในเดือนพฤษภาคม 2563 2. ยกเลิกการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์วันต่อต้านยาเสพติดโลก วันที่ 26 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ได้ยกเลิกการจัดกิจกรรมทั้งหมดและคืนงบประมาณเรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ

(13) 5. ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
5. ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลักที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการติดตั้งเครื่องสูบน้ำบริเวณจุดอ่อนน้ำท่วมในพื้นที่เขตเรียบร้อยแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการติดตั้งเครื่องสูบน้ำบริเวณจุดอ่อนน้ำท่วมในพื้นที่เขตและดำเนินการตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินกาารติดตั้งเครื่องสูบน้ำบริเวณจุดอ่อนน้ำท่วมจำนวน 6 เครื่อง และมีเจ้าหน้าที่ประจำจุดเมื่อมีฝนตกจำนวนจุดละ 2 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-น้ำท่วมถนนสายหลัก 2 ครั้ง 1. ถนนพระรามที่ 4 ท้ายซอยสุขุมวิท 24 – 36 รวม 500 เมตร ปริมาณน้ำฝน 146 มิลลิเมตร ใช้เวลาระบาย (นับจากฝนหยุด) 5 นาที (24 กรกฎาคม 2563) 2. ถนนพระราม 3 บริเวณ 5 แยก ณ ระนอง รวม 500 เมตร ปริมาณน้ำฝน146 มิลลิเมตร ใช้เวลาทระบายน้ำ (นับจากฝนหยุด) 1 ชั่วโมง (24 กรกฎาคม 2563) บริเวณ แยก ณ ระนอง มีการก่อสร้างสะพานข้ามแยก โดยมีการปิดกั้นช่องการจราจร และมีการวางวัสดุก่อสร้างรวมถึงจอดรถที่ใช้ในการก่อสร้าง ส่งผลให้ประสิทธิภาพการระบายน้ำลดลง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(14) 6. ร้อยละความสำเร็จในการเตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่เขต
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
6. ร้อยละความสำเร็จในการเตรียมการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่เขต

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
60.00

100 / 100
3
90.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. จ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ จำนวน 51 ซอย ความยาวประมาณ 20,658 เมตร เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง เดือนพฤษภาคม 2563 2. จัดทำแผนการขุดลอกคู คลอง เก็บผักตบชวา กำจัดวัชพืชและเปิดทางน้ำไหลประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 7 คู คลอง โดยใช้แรงงานของสำนักงานเขตคลองเตยเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนกันยายน 2563 ดำเนินการแล้วจำนวน 3 คู คลอง ดังนี้ 2.1. คลองพลับ ความกว้าง 3.00 - 6.00 เมตร ความยาว 366 เมตร 2.2. คูน้ำข้างโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ความกว้าง 3.00 – 6.00 เมตร ความยาว 200 เมตร 2.3. คลองคาง ความกว้าง 6.00 – 15.00 เมตร ความยาว 360 เมตร 3. ล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ โดยแรงการของสำนักงานเขตคลองเตยและรถดูดล้างท่อระบายน้ำประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 18 ซอย รวมความยาวทั้งสิ้น 9,865 เมตร เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง เดือนพฤษภาคม 2563 ดำเนินการแล้วจำนวน 9 ซอย ดังนี้ 3.1 ซอยวัดคลองเตยนอก ความยาวประมาณ 250 เมตร 3.2 ซอยตรอกโรงหมู ความยาวประมาณ 593 เมตร 3.3 ซอยวัดคลองเตยใน ความยาวประมาณ 498 เมตร 3.4 ซอยทางเข้าคอนโดวอเตอร์ฟอร์ด ความยาวประมาณ 170 เมตร 3.5 ซอยตรีมิตร ความยาวประมาณ 860 เมตร 3.6 ซอยสายน้ำทิพย์ 3 ความยาวประมาณ 58 เมตร 3.7 ซอยอุลิศ ความยาวประมาณ 99 เมตร 3.8 ซอยโรงไฟฟ้า ชุมชนโรงไฟฟ้า ความยาวประมาณ 160 เมตร 3.9 ซอยชุมชนสวัสดี (ซอยสวัสดี 4) ความยาวประมาณ 780 เมตร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. จ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 51 ซอย ความยาวประมาณ 20,658 เมตร ตามสัญญาเลขที่ ขคล. 5/2563 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 เริ่มสัญญา วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563 สิ้นสัญญา วันที่14 เมษายน 2563 (60 วัน) ดำเนินการแล้วจำนวน 35 คู คลอง ดังนี้ 1.1 สุขุมวิท 52 ความยาวประมาณ 260 เมตร 1.2 ซอยแยกสุขุมวิท 50 เชื่อมสุขุมวิท 52 (ซอยเคียงศิริ) ความยาวประมาณ 504 เมตร 1.3 ซอยอารีย์รักษ์ ความยามประมาณ 434 เมตร 1.4 ซอยแยกซอยสุขุมวิท 50 ตรงข้ามซอยสวัสดี 4 ความยาวประมาณ 164 เมตร 1.5 ซอยเริ่มเจริญ ความยาวประมาณ 488 เมตร 1.6 ซอยตรงข้ามชุมชนสวนอ้อย ความยาวประมาณ 97 เมตร 1.7 ซอยสุขุมวิท 48/3 ความยาวประมาณ 120 เมตร 1.8 ซอยภูมิจิตร ความยาวประมาณ 926 เมตร 1.9 ซอยสุขุมวิท 44/1 ความยาวประมาณ 221 เมตร 1.10 ซอยพิชัยสวัสดิ์ ความยาวประมาณ 325 เมตร 1.11 ซอยสุขุมวิท 44 ความยาวประมาณ 130 เมตร 1.12 ซอยบาโบส 1 ความยาวประมาณ 174 เมตร 1.13 ซอยบาโบส 2 ความยาวประมาณ 370 เมตร 1.14 ซอยโรงพยาบาลกล้วยน้ำไท 2 ความยาวประมาณ 395 เมตร 1.15 ซอยโรงพยาบาลกล้วยน้ำไท 1 ความยาวประมาณ 220 เมตร 1.16 ซอยรูเบีย ความยาวประมาณ 720 เมตร 1.17 ซอยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ความยาวประมาณ 205 เมตร 1.18 ซอยโรจน์เสรี ความประมาณ 518 เมตร 1.19 ซอยเชื่อมโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ความยาวประมาณ 163 เมตร 1.20 ซอยหลังโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ความยาวประมาณ 119 เมตร 1.21 ซอยแสนสบาย 8 ความยาวประมาณ 310 เมตร 1.22 ซอยแสนสบายแยก 4 ความยาวประมาณ 157 เมตร 1.23 ซอยแสนสบายแยก 2 ความยาวประมาณ 150 เมตร 1.24 ซอยนภาศัพท์ แยก 5 ความยาวประมาณ 486 เมตร 1.25 ซอยนภาศัพท์ แยก 4-5 ความประมาณ 278 เมตร 1.26 ซอยนภาศัพท์ แยก 4 ความยาวประมาณ 186 เมตร 1.27 ซอยนภาศัพท์ แยก 3 ความยาวประมาณ 398 เมตร 1.28 ซอยสุขุมวิท 30 ความยาวประมาณ 580 เมตร 1.29 ซอยสุขุมวิท 28 ความยาวประมาณ 418 เมตร 1.30 ซอยแยกเมธีนิเวศน์ ความยาวประมาณ 208 เมตร 1.31 ซอยเมธีนิเวศน์ ความยาวประมาณ 715 เมตร 1.32 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 แยก 3 ความยาวประมาณ 78 เมตร 1.33 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 แยก 2 ความยาวประมาณ 112 เมตร 1.34 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 แยก 1 ความยาวประมาณ 207 เมตร 1.35 ซอยสุขุมวิท 20 ความยาวประมาณ 1,076 เมตร 2. จัดทำแผนการขุดลอกคู คลอง เก็บผักตบชวา กำจัดวัชพืชและเปิดทางน้ำไหลประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 7 คู คลอง โดยใช้แรงงานของสำนักงานเขตคลองเตยเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนกันยายน 2563 ดำเนินการแล้วจำนวน 6 คู คลอง ดังนี้ 2.1. คลองพลับ ความกว้าง 3.00 - 6.00 เมตร ความยาว 366 เมตร 2.2. คูน้ำข้างโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ความกว้าง 3.00 – 6.00 เมตร ความยาว 200 เมตร 2.3. คลองคาง ความกว้าง 6.00 – 15.00 เมตร ความยาว 360 เมตร 2.4 คลองอินทนินทร์ ความกว้าง 5.00 – 7.00 เมตร ความยาว 360 เมตร 2.5 คลองยายล้อม ความกว้าง 6.00 – 10.00 เมตร ความยาว 200 เมตร 2.6 คลองยายสร้อย ความกว้าง 5.00 – 6.00 เมตร ความยาว 750 เมตร 3. ล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ โดยแรงการของสำนักงานเขตคลองเตยและรถดูดล้างท่อระบายน้ำประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 18 ซอย รวมความยาวทั้งสิ้น 9,865 เมตร ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2563 ดังนี้ 3.1 ซอยวัดคลองเตยนอก ความยาวประมาณ 250 เมตร 3.2 ซอยตรอกโรงหมู ความยาวประมาณ 593 เมตร 3.3 ซอยวัดคลองเตยใน ความยาวประมาณ 498 เมตร 3.4 ซอยทางเข้าคอนโดวอเตอร์ฟอร์ด ความยาวประมาณ 170 เมตร 3.5 ซอยตรีมิตร ความยาวประมาณ 860 เมตร 3.6 ซอยสายน้ำทิพย์ 3 ความยาวประมาณ 58 เมตร 3.7 ซอยอุลิศ ความยาวประมาณ 99 เมตร 3.8 ซอยโรงไฟฟ้า (ชุมชนโรงไฟฟ้า) ความยาวประมาณ 160 เมตร 3.9 ซอยชุมชนสวัสดี (ซอยสวัสดี 4) ความยาวประมาณ 780 เมตร 3.10 ซอยโรงงานยาสูบ ความยาวประมาณ 330 เมตร 3.11 ซอยหน้ามูลนิธิ (ข้างสำนักงานเขตคลองเตย) ความยาวประมาณ 90 เมตร 3.12 ซอยสุขุมวิท 4 ความยาวประมาณ 1,700 เมตร 3.13 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 ความยาวประมาณ 993 เมตร 3.14 ซอยสมาหาร ความยาวประมาณ 688 เมตร 3.15 ซอยแสนสุข (ถนนพระรามที่ 4) ความยาวประมาณ 659 เมตร 3.16 ซอยสมาหาร แยก 1 ความยาวประมาณ 203 เมตร 3.17 ซอยแยกวัดคลองเตยใน ความประมาณ 415 เมตร 3.18 ซอยคุณหญิงพวงรัตน์ประไพ ความยาวประมาณ 1,220 เมตร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-จ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ ประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 51 ซอย ความยาวประมาณ 20,658 เมตร ตามสัญญาเลขที่ ขคล. 5/2563 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2563 เริ่มสัญญา วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2563 สิ้นสัญญา วันที่14 เมษายน 2563 (60 วัน) ดำเนินการเพิ่มเติมจำนวน 16 คู คลอง (ดำเนินการแล้ว 35 คู คลอง) ดังนี้ 1.ซอยภูมิจิตร แยก 1 ความยาวประมาณ 490 เมตร 2.ซอยสุขุมวิท 38 ความยาวประมาณ 1,640 เมตร 3.ซอยสุขุมวิท 38 เชื่อมซอยสุขุมวิท 40 ความยาวประมาณ 113 เมตร 4.ซอยชัยมงคล 1 ความยาวประมาณ 269 เมตร 5.ซอยแยกซอยเจริญสุข ความยาวประมาณ 187 เมตร 6. ซอยข้างปั้มน้ำมันเอสโซ่ ความยาวประมาณ 112 เมตร 7.ซอยไทยสิน 1 ความยาวประมาณ 85 เมตร 8.ซอยสายน้ำทิพย์ 1 ความยาวประมาณ 150 เมตร 9.ซอยสุขุมวิท 24 ความยาวประมาณ 1,200 เมตร 10.ซอยสุขุมวิท 6 ความยาวประมาณ 280 เมตร 11.ซอยสุขุมวิท 10 ความยาวประมาณ 252 เมตร 12.ซอยสุขุมวิท 12 ความยาวประมาณ 994 เมตร 13.ซอยแยกซอยสุขุมวิท 12 ความยาวประมาณ 530 เมตร 14.ซอยแยกซอยสุขุมวิท 14 ความยาวประมาณ 85 เมตร 15.ซอยสุขุมวิท 16 ความยาวประมาณ 1,544 เมตร 16.ซอยสุขุมวิท 18 เชื่อมซอยสุขุมวิท 20 ความยาวประมาณ 165 เมตร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1. ดำเนินการขุดลอกคู คลอง เก็บผักตบชวา กำจัดวัชพืชและเปิดทางน้ำไหลประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 7 คู คลอง รวมความยาวทั้งสิ้น 3,336 เมตร โดยใช้แรงงานของสำนักงานเขตคลองเตยเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนกันยายน 2563 ดำเนินการแล้วเสร็จ ดังนี้ 1.1 คลองคาง ความกว้าง 6.00 – 15.00 เมตร ความยาว 360 เมตร 1.2 คลองยายสร้อย ความกว้าง 5.00 – 6.00 เมตร ความยาว 750 เมตร 1.3 คลองอินทนินทร์ ความกว้าง 5.00 – 7.00 เมตร ความยาว 360 เมตร 1.4 คลองพลับ ความกว้าง 3.00 - 6.00 เมตร ความยาว 366 เมตร 1.5 คลองยายล้อม ความกว้าง 6.00 – 10.00 เมตร ความยาว 200 เมตร 1.6 คูน้ำข้างโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ความกว้าง 3.00 – 6.00 เมตร ความยาว 200 เมตร 1.7 คูน้ำซอยสุขุมวิท 50 ความกว้าง 6.00 – 15.00 เมตร ความยาว 1,000 เมตร 2. ล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ โดยแรงการของสำนักงานเขตคลองเตยและรถดูดล้างท่อระบายน้ำประจำปีงบประมาณ 2563 จำนวน 18 ซอย รวมความยาวทั้งสิ้น 9,865 เมตร ดำเนินการแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2563 ดังนี้ 2.1 ซอยโรงงานยาสูบ ความยาวประมาณ 330 เมตร 2.2 ซอยวัดคลองเตยใน ความยาวประมาณ 498 เมตร 2.3 ซอยแยกวัดคลองเตยใน ความประมาณ 415 เมตร 2.4 ซอยวัดคลองเตยนอก ความยาวประมาณ 250 เมตร 2.5 ซอยตรอกโรงหมู ความยาวประมาณ 593 เมตร 2.6 ซอยหน้ามูลนิธิ (ข้างสำนักงานเขตคลองเตย) ความยาวประมาณ 90 เมตร 2.7 ซอยโรงไฟฟ้า (ชุมชนโรงไฟฟ้า) ความยาวประมาณ 160 เมตร 2.8 ซอยสุขุมวิท 4 ความยาวประมาณ 1,700 เมตร 2.9 ซอยคุณหญิงพวงรัตน์ประไพ ความยาวประมาณ 1,220 เมตร 2.10 ซอยตรีมิตร ความยาวประมาณ 860 เมตร 2.11 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 ความยาวประมาณ 993 เมตร 2.12 ซอยสายน้ำทิพย์ 3 ความยาวประมาณ 58 เมตร 2.13 ซอยอุลิศ ความยาวประมาณ 99 เมตร 2.14 ซอยสมาหาร ความยาวประมาณ 688 เมตร 2.15 ซอยสมาหาร แยก 1 ความยาวประมาณ 203 เมตร 2.16 ซอยทางเข้าคอนโดวอเตอร์ฟอร์ด ความยาวประมาณ 170 เมตร 2.17 ซอยแสนสุข (ถนนพระรามที่ 4) ความยาวประมาณ 659 เมตร 2.18 ซอยชุมชนสวัสดี (ซอยสวัสดี 4) ความยาวประมาณ 780 เมตร 3. จ้างเหมาล้างทำความสะอาดท่อระบายน้ำ จำนวน 51 ซอย ความยาวประมาณ 20,946 เมตร เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึง เดือนพฤษภาคม 2563 ดำเนินการแล้วเสร็จ ดังนี้ 3.1 ซอยสุขุมวิท 6 ความยาวประมาณ 360 เมตร 3.2 ซอยสุขุมวิท 10 ความยาวประมาณ 252 เมตร 3.3 ซอยสุขุมวิท 12 ความยาวประมาณ 994 เมตร 3.4 ซอยแยกสุขุมวิท 12 ความยาวประมาณ 530 เมตร 3.5 ซอยแยกสุขุมวิท 14 ความยาวประมาณ 85 เมตร 3.6 ซอยสุขุมวิท 16 ความยาวประมาณ 1,544 เมตร 3.7 ซอยสุขุมวิท 18 เชื่อมซอยสุขุมวิท 20 ความยาวประมาณ 165 เมตร 3.8 ซอยสุขุมวิท 20 ความยาวประมาณ 1,076 เมตร 3.9 ซอยสายน้ำทิพย์ 1 ความยาวประมาณ 150 เมตร 3.10 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 แยก 1 ความยาวประมาณ 207 เมตร 3.11 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 แยก 2 ความยาวประมาณ 112 เมตร 3.12 ซอยสายน้ำทิพย์ 2 แยก 3 ความยาวประมาณ 78 เมตร 3.13 ซอยสุขุมวิท 24 ความยาวประมาณ 1,200 เมตร 3.14 ซอยเมธีนิเวศน์ ความยาวประมาณ 715 เมตร 3.15 ซอยแยกเมธีนิเวศน์ ความยาวประมาณ 208 เมตร 3.16 ซอยสุขุมวิท 28 ความยาวประมาณ 418 เมตร 3.17 ซอยสุขุมวิท 30 ความยาวประมาณ 580 เมตร 3.18 ซอยนภาศัพท์ แยก 3 ความยาวประมาณ 398 เมตร 3.19 ซอยนภาศัพท์ แยก 4 ความยาวประมาณ 486 เมตร 3.20 ซอยนภาศัพท์ แยก 4-5 ความยาวประมาณ 278 เมตร 3.21 ซอยนภาศัพท์ แยก 5 ความยาวประมาณ 486 เมตร 3.22 ซอยแสนสบาย แยก 2 ความยาวประมาณ 150 เมตร 3.23 ซอยแสนสบาย แยก 4 ความยาวประมาณ 157 เมตร 3.24 ซอยแสนสบาย แยก 8 ความยาวประมาณ 310 เมตร 3.25 ซอยไทยสิน 1 ความยาวประมาณ 85 เมตร 3.26 ซอยสุขุมวิท 38 ความยาวประมาณ 1,640 เมตร 3.27 ซอยสุขุมวิท 38 เชื่อมซอยสุขุมวิท 40 ความยาวประมาณ 113 เมตร 3.28 ซอยบาโบส 1 ความยาวประมาณ 174 เมตร 3.29 ซอยบาโบส 2 ความยาวประมาณ 370 เมตร 3.30 ซอยตรงข้ามชุมชนสวนอ้อย ความยาวประมาณ 97 เมตร 3.31 ซอยโรงพยาบาลกล้วยน้ำไท 1 ความยาวประมาณ 220 เมตร 3.32 ซอยโรงพยาบาลกล้วยน้ำไท 2 ความยาวประมาณ 395 เมตร 3.33 ซอยรูเบีย ความยาวประมาณ 720 เมตร 3.34 ซอยสุขุมวิท 44 ความยาวประมาณ 130 เมตร 3.35 ซอยสุขุมวิท 44/1 ความยาวประมาณ 221 เมตร 3.36 ซอยพิชัยสวัสดิ์ ความยาวประมาณ 325 เมตร 3.37 ซอยสุขุมวิท 48/3 ความยาวประมาณ 120 เมตร 3.38 ซอยภูมิจิตร ความยาวประมาณ 926 เมตร 3.39 ซอยภูมิจิตร แยก 1 ความยาวประมาณ 490 เมตร 3.40 ซอยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ความยาวประมาณ 205 เมตร 3.41 ซอยโรจน์เสรี ความยาวประมาณ 518 เมตร 3.42 ซอยเชื่อมโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ความยาวประมาณ 163 เมตร 3.43 ซอยหลังโรงพยาบาลเทพธารินทร์ ความยาวประมาณ 119 เมตร 3.44 ซอยชัยมงคล 1 ความยาวประมาณ 269 เมตร 3.45 ซอยแยกซอยเจริญสุข ความยาวประมาณ187 เมตร 3.46 ซอยข้างปั๊มน้ำมันเอสโซ่ ความยาวประมาณ 112 เมตร 3.47 ซอยแยกสุขุมวิท 50 เชื่อมสุขุมวิท 52 (ซอยเคียงศิริ) ความยาวประมาณ 252 เมตร 3.48 ซอยสุขุมวิท 52 ความยาวประมาณ 260 เมตร 3.49 ซอยอารีรักษ์ ความยาวประมาณ 217 เมตร 3.50 ซอยแยกซอยสุขุมวิท 50 ตรงข้าม ซอยสวัสดี 4 ความยาวประมาณ 164 เมตร 3.51 ซอยเริ่มเจริญ ความยาวประมาณ 488 เมตร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(15) 7. จำนวนการซักซ้อมการปฏิบัติตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านความมั่นคง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ
7. จำนวนการซักซ้อมการปฏิบัติตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้านความมั่นคง

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :9.00

ผลงาน :10.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
4.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
10.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

การซักซ้อมการปฏิบัติการตามแผนป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก โดยการฝึกอบรมความรู้วิธีการอพยพคนกรณีเกิดเหตุการณ์อัคคีภัย และการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอัคคีภัยที่จะเกิดขึ้น ดำเนินการแล้วเสร็จจำนวน 2 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-การซักซ้อมการปฏิบัติการตามแผนป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก โดยการฝึกอบรมความรู้วิธีการอพยพคนกรณีเกิดเหตุการณ์อัคคีภัย และการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอัคคีภัยที่จะเกิดขึ้น ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563 ดำเนินการแล้วเสร็จจำนวน 4 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-การซักซ้อมการปฏิบัติการตามแผนป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก โดยการฝึกอบรมความรู้วิธีการอพยพคนกรณีเกิดเหตุการณ์อัคคีภัย และการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอัคคีภัยที่จะเกิดขึ้น ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2563 ดำเนินการแล้วเสร็จจำนวน 4 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-การซักซ้อมการปฏิบัติการตามแผนป้องกันและบรรเทาภัยด้านสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานภายนอก โดยการฝึกอบรมความรู้วิธีการอพยพคนกรณีเกิดเหตุการณ์อัคคีภัย และการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอัคคีภัยที่จะเกิดขึ้น ดำเนินการแล้วเสร็จจำนวน 9 ครั้ง และการฝึกซ้อมการป้องกันและระงับอัคคีภัยในสำนักงานเขต จำนวน 1 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(16) 8. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
8. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
43.01

100 / 100
2
65.24

100 / 100
3
87.77

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2562 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 394 ราย จากสถานประกอบการทั้งหมด 916 ราย คิดเป็นร้อยละ 43.01

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 15 มีนาคม 2563 2562 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 595 ราย จากสถานประกอบการทั้งหมด 916 ราย คิดเป็นร้อยละ 65.24

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 30 มิถุนายน 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 804 ราย จากสถานประกอบการทั้งหมด 916 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.77

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 849 ราย จากสถานประกอบการทั้งหมด 849 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(17) 9. ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาคูคลองและถนนเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
9. ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาคูคลองและถนนเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาคู คลองบ้านกล้วยใต้ (ถนนสุขุมวิท ซอย 40) โดยเข้าดำเนินการ เดือนละครั้ง ดังนี้ 1) ดำเนินการจัดเก็บขยะและผักตบชวาในคลองและทางริมคลอง 2 )จัดล้างทำความสะอาดเขื่อนริมคลอง 3) ตัดแต่งกิ่งไม้ปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง 2. จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาคู คลอง จำนวน 3 ครั้ง ดังนี้ 1) ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562 2) ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2562 3) ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2562 3. ปัญหาอุปสรรและการแก้ไข 1) ปัญหาด้านการจราจรในการปฏิบัติงาน เนื่องจากเป็นคู คลอง ที่อยู่ติดกับถนนที่เชื่อมระหว่าง ถนนสายหลักซึ่งมีการจราจรหนาแน่นจึงต้องเข้าพัฒนาในช่วงวันหยุด 2) ประชาชนเดินสัญจรผ่านไป - มา น้ำจากการฉีดล้างอาจจะโดนประชาชน 4. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100 (เป็นไปตามแผนงาน)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาคู คลองบ้านกล้วยใต้ (ถนนสุขุมวิท ซอย 40) ดังนี้ เดือนมกราคม 2563 - วันที่ 24 ม.ค. 63 1) จัดเก็บขยะและผักตบชวาในคลองและทางริมคลอง เดือนกุมภาพันธ์ 2563 -วันที่ 12 ก.พ. 63 1) จัดเก็บขยะและผักตบชวาในคลองและทางริมคลอง -วันที่ 20 ก.พ. 63 1) ซ่อมแซมราวเหล็ก กันตกริมคลอง 2) ตัดแต่งกิ่งไม้ปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง -วันที่ 21 ก.พ. 63 1) ตรวจตราความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสะพานข้ามคลองมีความสะอาดปลอดภัย เดือนมีนาคม 2563 -วันที่ 4 มี.ค. 63 1) ตรวจตราไฟฟ้าส่องสว่าง -วันที่ 2-13 มี.ค. 63 1) ขัดล้างทำความสะอาดเขื่อนริมคลอง -วันที่ 7 มี.ค. 63 1) จัดเก็บขยะและผักตบชวาในคลองและริมทางเท้าริมคลอง 2) ตัดแต่งกิ่งไม้ปรับภูมิทัศน์คลอง 3) ตรวจตราความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสสะพานข้ามคลอง มีความสะอาด ปลอดภัย 2. ดำเนินการด้านการดูแลถนนเฉลิมประเกียรติฯ ตามหลักเกณฑ์การพัฒนา ดังนี้ 2.1 ถนนพระรามที่ 4 ตั้งแต่ทางรถไฟถนนเชื้อเพลิง ถึงสามแยกพระโขนง เดือนมีนาคม 2563 - วันที่ 4,14,20 มี.ค. 63 1) ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 2) ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองป้ายรถโดยสารประจำทาง 3) ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองสะพานลอย - วันที่ 20 มี.ค. 63 1) ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ไม่รกหรือเป็นจุดอับสายตา - วันที่ 24 มี.ค. 63 1) ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ไม่รกหรือเป็นจุดอับสายตา 2) ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 2.1 ถนนสุขุมวิท ตั้งแต่ปากซอยถนนดวงพิทักษ์ ถึงปากซอยสุขุมวิท 52 เดือนมีนาคม 2563 - วันที่ 8,12 มี.ค. 63 1) ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 2) ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองป้ายรถโดยสารประจำทาง 3) ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองสะพานลอย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-เดือนเมษายน 25631. ดำเนินการพัฒนาคู คลองบ้านกล้วยใต้ (ถนนสุขุมวิท ซอย 40) ดังนี้ -วันที่ 2 เม.ย.63 1) จัดกิจกรรมกิจอาสา พัฒนาทางเดินริมคลอง 2) ขัดล้างทำความสะอาดเขื่อนริมคลอง -วันที่ 18 เม.ย.63 1) จัดเก็บขยะและผักตบชวาในคลองและทางเท้าริมคลอง 2) ตัดแต่งกิ่งไม้ปรับภูมิทัศน์คลอง 2.ปรับภูมิทัศน์ถนนเฉลิมพระเกียรติฯ -ถนนสุขุมวิทตั้งแต่ปาก ซอยถนนดวงพิทักษ์ถึงปากซอยสุขุมวิท 52 1) ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมริมทาง 2) ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 3) ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 4) ดูแลตัดต้นไม้ให้สวยงามไม่รกหรือเป็นจุดอับสายตา 5) ทำความสะอาดสะพานลอย -ถนนพระราม 4 ทางรถไฟถนนเชื้อเพลิง ถึงสามแยกพระโขนง 1) ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 2) ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง เดือนพฤษภาคม 2563 1. ดำเนินการพัฒนาคู คลองบ้านกล้วยใต้ (ถนนสุขุมวิท ซอย 40) ดังนี้ -วันที่ 6 พ.ค.63 1) จัดเก็บขยะและผักตบชวาในคลองและทางเท้าริมคลอง -วันที่ 14 พ.ค.63 1) ตัดแต่งกิ่งไม้ปรับภูมิทัศน์คลอง -วันที่ 18 พ.ค.63 1) ขัดล้างทำความสะอาดเขื่อนริมคลอง 2.ปรับภูมิทัศน์ถนนเฉลิมพระเกียรติฯ -ถนนสุขุมวิทตั้งแต่ปากซอยถนนดวงพิทักษ์ถึงปากซอยสุขุมวิท 52 1) ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 2) ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 3) ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงามไม่รกหรือเป็นจุดอับสายตา 4) ทำความสะอาดสะพานลอย -ถนนพระราม 4 ทางรถไฟถนนเชื้อเพลิง ถึงสามแยกพระโขนง 1) ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 2) ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง เดือนมิถุนายน 2563 1.ดำเนินการติดตั้งป้ายโครงการฯ เพื่อให้เกิดความเป็นถูกต้องเป็นระเบียบสวยงามและให้สมพระเกียรติฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

(1)โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาคู คลองบ้านกล้วยใต้ (ถนนสุขุมวิท ซอย 40) ดังนี้ 1. ดำเนินการจัดเก็บขยะและผักตบชวาในคลองและทางริมคลอง 2. จัดล้างทำความสะอาดเขื่อนริมคลอง 3. ตัดแต่งกิ่งไม้ปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง 4. ซ่อมแซมราวเหล็กกันตกริมคลอง 5. ตรวจตราความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสะพานข้ามคลองมีความสะอาดปลอดภัย 6. ตรวจตราไฟฟ้าส่องสว่าง 7. จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาคู คลอง ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100 (เป็นไปตามแผนงาน) 2. ดำเนินการด้านการดูแลถนนเฉลิมประเกียรติฯ ตามหลักเกณฑ์การพัฒนา ดังนี้ 1) ถนนพระรามที่ 4 ตั้งแต่ทางรถไฟถนนเชื้อเพลิง ถึงสามแยกพระโขนง - ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร - ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองป้ายรถโดยสารประจำทาง - ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองสะพานลอย - ดูแลตัดแต่งต้นไม้ให้สวยงาม ไม่รกหรือเป็นจุดอับสายตา - ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 2) ถนนสุขุมวิท ตั้งแต่ปากซอยถนนดวงพิทักษ์ ถึงปากซอยสุขุมวิท 52 - ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร - ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองป้ายรถโดยสารประจำทาง - ล้างทำความสะอาดเช็ดฝุ่นละอองสะพานลอย (2)โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์พัฒนาถนน 50 เขต เฉลิมพระเกียรติฯ จำนวน 2 สาย 1. ถนนสุขุมวิท 2. ถนนพระราม 4 ดำเนินการบันทึกข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์พร้อมจัดทำรายงานผลการดำเนินงานทุกเดือน ดังนี้ 1. ไม่มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์/จยย. บนทางเท้า (ตรวจพบและดำเนินการแก้ไขโดยดำเนินการเปรียบเทียบปรับ ตาม พ.ร.บ. รักษาฯ ม.17(2)) 2. ไม่มีหาบเร่แผงลอยที่ผิดกฎหมาย 3. ไม่ป้ายโฆษณาที่ผิดกฎหมาย 4. ไม่มีสิ่งปฏิกูลขยะมูลฝอย 5. ไม่มีการวางกระถาง/สิ่งของใดๆ บนทางเท้า 6. ปรับปรุง/เพิ่มเติม ป้ายและสัญญาณไฟจราจร และทาสีทางเท้า 7. สำรวจและติดตั้งกล้อง CCTV เพิ่มเติมและใช้งานได้เสมอ 8. ปรับปรุง/ซ่อม ผิวจราจรที่ชำรุด 9. ปรับปรุง/ซ่อม ผิวทางเดินเท้าที่ชำรุด เป็นหลุมบ่อ 10. ล้างทำความสะอาดทางเท้าและผิวจราจร 11. ตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างให้ใช้งานได้ และติดตั้งเพิ่มเติม 12. ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมริมทางเท้า 13. ดูแลตัดต้นไม้เพิ่มเติมริมทางเท้า ไม่รกเป็นจุดอับสายตา 14. จัดระเบียบของสายสื่อสารริมทาง 15. ทำความสะอาดป้ายรถโดยสารประจำทาง 16. ทำความสะอาดสะพานลอย ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100 (เป็นไปตามแผนงาน)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(18) 10. จำนวนการกวดขัน - ปรับ ผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า
[มิติที่ 1 : ]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
10. จำนวนการกวดขัน - ปรับ ผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า

หน่วยนับ :ครั้งต่อวัน

เป้าหมาย :4.00

ผลงาน :25.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้งต่อวัน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
4.00

100 / 100
4
4.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการกวดขัน - ปรับ ผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า บริเวณถนนพระรามที่ 4 และถนนสุขุมวิท จำนวน 4 ครั้ง/วัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการกวดขัน - ปรับ ผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า บริเวณถนนพระรามที่ 4 และถนนสุขุมวิท จำนวน 4 ครั้ง/วัน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2563 พบผู้กระทำผิดจำนวน 227 ราย ปรับเป็นเงินจำนวน 234,500 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการกวดขัน - ปรับ ผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า บริเวณถนนพระรามที่ 4 และถนนสุขุมวิท จำนวน 4 ครั้ง/วัน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนพฤษภาคม 2563 พบผู้กระทำผิดจำนวน 283 ราย ปรับเป็นเงินจำนวน 299,800 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการกวดขัน - ปรับ ผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า บริเวณถนนพระรามที่ 4 และถนนสุขุมวิท จำนวน 4 ครั้ง/วัน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนสิงหาคม 2563 พบผู้กระทำผิดจำนวน 345 ราย ปรับเป็นเงินจำนวน 361,900 บาท

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(19) 11. พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
11. พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
30.00

100 / 100
2
58.33

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. อยู่ระหว่างการขออนุมัติงบประมาณในการดำเนินการซ่อมแซมพื้นที่สีเขียวที่ทรุดโทรมให้สวยงามและปลูก ต้นไม้ใหญ่ทดแทนส่วนที่ลดลงเนื่องจากโรคแมลง และลมพายุพัด 2. สำรวจพื้นที่เป้าหมายพื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนสาธารณะ /สวนหย่อม (7 ประเภท) ตามที่ตกลงไว้กับ สสล. ได้จำนวน 10 แห่ง ขนาดพื้นที่ 16 ไร่ 3 งาน 3. สำรวจพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) ได้จำนวน 2 แห่ง และได้กำหนดตำแหน่ง บนแผนที่ GIS แล้ว 4. ปัญหาอุปสรรและการแก้ไข 1) การสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น 7 ประเภท มีปัญหาและอุปสรรคด้านการเข้าสำรวจพื้นที่เอกชนค่อนข้าง ทำได้ยาก ได้แก้ไขทำหนังสือขอความอนุเคราะห์เข้าสำรวจพื้นที่สีเขียวเพื่อเป็นข้อมูลของกรุงเทพมหานคร 2) การสำรวจพื้นที่สีเขียว 9 ประเภท มีปัญหาและอุปสรรค คือ มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์ เริ่มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจึงส่งผลให้มีพื้นที่ให้สำรวจลดน้อยลงอาจทำให้การสำรวจไม่ครบตามเป้าหมาย จึงได้แก้ไขโดยเมื่อสำรวจพื้นที่ครบและไม่สามารถสำรวจเพิ่มต่อได้อีก จึงต้องแจ้งสำนักสิ่งแวดล้อมเพื่อ ขอยกเว้น 5. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 30

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ชะลอการจัดซื้อต้นไม้และวัสดุอุปกรณ์ฯ ตามโครงการฯ เพื่อปฏิบัติตามหนังสือ สนง.กทม.ที่ กท 1902/00555 ลว. 23 มี.ค. 2563 ซึ่งเวียนแจ้งให้ทุกหน่วยงานชะลอการดำเนินการด้านงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบฯ 2563 หมวดค่าครุภัฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง และหมวดรายจ่ายอื่น ที่ยังไม่ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อน 2. การสำรวจพื้นที่เป้าหมายพื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนสาธารณะ /สวนหย่อม (7 ประเภท) ตามที่ตกลงไว้กับ สสล. ได้จำนวน 10 แห่ง ขนาดพื้นที่ 16 ไร่ 3 งาน ได้ดำเนินการสำรวจครบตามที่ตกลงไว้และลงข้อมูลในระบบพร้อมกำหนดตำแหน่ง บนแผนที่ GIS เรียบร้อยแล้ว 3. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100 4. สำรวจพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) สสล.กำหนดไว้ 12 แห่ง ดำเนินการได้ จำนวน 5 แห่ง และได้กำหนดตำแหน่ง บนแผนที่ GIS แล้ว 5. ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 รวม 7 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 58.33

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.ชะลอการจัดซื้อต้นไม้และวัสดุอุปกรณ์ฯ ตามโครงการฯ เพื่อปฏิบัติตามหนังสือ สนง.กทม.ที่ กท 1902/00555 ลว. 23 มี.ค. 2563 ซึ่งเวียนแจ้งให้ทุกหน่วยงานชะลอการดำเนินการด้านงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบฯ 2563 หมวดค่าครุภัฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง และหมวดรายจ่ายอื่น ที่ยังไม่ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อน 2. การสำรวจพื้นที่เป้าหมายพื้นที่สีเขียวในรูปแบบสวนสาธารณะ /สวนหย่อม (7 ประเภท) ตามที่ตกลงไว้กับ สสล. จำนวน 10 แห่ง ขนาดพื้นที่ 16 ไร่ 3 งาน ได้ดำเนินการสำรวจครบ 10 แห่ง ตามที่ตกลงไว้และลงข้อมูลในระบบพร้อมกำหนดตำแหน่ง บนแผนที่ GIS เรียบร้อยแล้ว 3. ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 100 4. สำรวจพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ (9 ประเภท) สสล.กำหนดไว้ 12 แห่ง ดำเนินการได้ครบ จำนวน 7 แห่ง และได้กำหนดตำแหน่ง บนแผนที่ GIS แล้ว 5. ผลการดำเนินงาน ไตรมาสที่ 1 ถึงไตรมาส 3 รวม 12 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-1. มติที่ประชุมสำนักงบประมาณได้อนุมัติให้สำนักงานเขตคลองเตย สามารถดำเนินการตาม โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว ได้เนื่องจากได้รับการอนุมัติเงินประจำงวดมาแล้ว และได้ดำเนินการขั้นตอนประกาศประกวดราคา e-bidding ได้ตัวผู้ประกอบการและลงนามในสัญญา (ใบสั่งซื้อ) เมื่อวันที่ 26 ส.ค. 2563 ครบกำหนดสัญญา (ส่งของ) วันที่ 2 ก.ย. 2563โดยเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการปลูกตามโครงการฯ 2. ผลการดำเนินงานพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น ไตรมาสที่ 1 – ไตรมาสที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(20) 12. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
12. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
60.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตคลองเตย โดยกำหนดจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียบร้อยแล้ว ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ คือ “การทำน้ำมันเหลือง” เจ้าของภูมิปัญญา คือ นายพรเกื้อ ถาวรบัณฑิต และจะจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียบร้อยแล้ว ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ คือ “การทำน้ำมันเหลือง” เจ้าของภูมิปัญญา คือ นายพรเกื้อ ถาวรบัณฑิต และเนื่องจากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) จึงงเลื่อนระยะเวลาการจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุจากเดิมในเดือนเมษายน 2563 เป็นเดือนกรกฎาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-จัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุการทำน้ำมันเหลือง เจ้าของภูมิปัญญาคือ นายพรเกื้อ ถาวรบัณฑิต เสร็จสิ้นในเดือนกรกฎาคม 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(21) 12. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
12. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ประสานงานธนาคารสมองของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
60.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการคัดเลือกภูมิปัญญาผู้สูงอายุในพื้นที่เขตคลองเตย โดยกำหนดจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียบร้อยแล้ว ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ คือ “การทำน้ำมันเหลือง” เจ้าของภูมิปัญญา คือ นายพรเกื้อ ถาวรบัณฑิต และจะจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุในเดือนเมษายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการค้นหาภูมิปัญญาผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เรียบร้อยแล้ว ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ คือ “การทำน้ำมันเหลือง” เจ้าของภูมิปัญญา คือ นายพรเกื้อ ถาวรบัณฑิต และเนื่องจากปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) จึงงเลื่อนระยะเวลาการจัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุจากเดิมในเดือนเมษายน 2563 เป็นเดือนกรกฎาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-จัดกิจกรรมเผยแพร่แสดงผลงานภูมิปัญญาผู้สูงอายุการทำน้ำมันเหลือง เจ้าของภูมิปัญญาคือ นายพรเกื้อ ถาวรบัณฑิต เสร็จสิ้นในเดือนกรกฎาคม 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(22) 13. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
13. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :59.90

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
80.00

100 / 100
3
59.90

100 / 100
4
59.90

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดการทสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในช่วงเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน ช่วงหลังเลิกเรียนทุกวัน และในวันหยุดราชการ จำนวน 12 วัน เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ซึ่งจะดำเนินการทดสอบสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 1 กุมภาภันธ์ 2563 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการจัดการสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในช่วงเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน ช่วงหลังเลิกเรียนทุกวัน และในวันหยุดราชการ จำนวน 12 วัน เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) 2. ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 3. ประกาศผลสอบในวันที่ 25 มีนาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.คะแนนความสำเร็จระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ 5.69 คะแนน (เต็ม 10 คะแนน) 2.คะแนนความสำเร็จระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ 6.29 (เต็ม 10 คะแนน) 3.คะแนนความสำเร็จของหน่วยงาน = 5.69+6.29/2 = 5.99

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการตามแผนเสร็จสิ้นแล้ว โดยคะแนนร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต คิดเป็น 59.90

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(23) 13. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
13. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :59.90


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
80.00

100 / 100
3
59.90

100 / 100
4
59.90

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดการทสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในช่วงเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน ช่วงหลังเลิกเรียนทุกวัน และในวันหยุดราชการ จำนวน 12 วัน เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ซึ่งจะดำเนินการทดสอบสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 1 กุมภาภันธ์ 2563 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-1. ดำเนินการจัดการสอนแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ในช่วงเช้าก่อนเข้าชั้นเรียน ช่วงหลังเลิกเรียนทุกวัน และในวันหยุดราชการ จำนวน 12 วัน เพื่อเตรียมความพร้อมของนักเรียนในการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) 2. ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (O-NET) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 3. ประกาศผลสอบในวันที่ 25 มีนาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.คะแนนความสำเร็จระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ 5.69 คะแนน (เต็ม 10 คะแนน) 2.คะแนนความสำเร็จระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ 6.29 (เต็ม 10 คะแนน) 3.คะแนนความสำเร็จของหน่วยงาน = 5.69+6.29/2 = 5.99

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการตามแผนเสร็จสิ้นแล้ว โดยคะแนนร้อยละความสำเร็จของสำนักงานเขต คิดเป็น 59.90

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(24) 14. จำนวนการจัดกิจกรรมงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
14. จำนวนการจัดกิจกรรมงานวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณี

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :3.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
1.00

100 / 100
3
1.00

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 1 งานวันพ่อแห่งชาติ ประจำปี 2562 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2562 ณ บริเวณลานหน้าสำนักงานเขตคลองเตย ประกอบด้วย กิจกรรมตรวจวัดสายตา การแสดงนิทรรศการวันพ่อแห่งชาติ กิจกรรมฝึกอาชีพระยะสั้น กิจกรรมร่วมสนันสนุนสินค้าจากมูลนิธิสวนแก้วและร่วมบริจาคสิ่งของเหลือใช้ทุกชนิดให้กับมูลนิธิสวนแก้ว การแสดงดนตรีไทยและการแสดงโขนสด การแสดงธรรมบรรยาย (โดยพระราชธรรมนิเทศพระพยอม กลยาโน) การแสดงของนักเรียนโรงเรียนในสังกัด พิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ "พ่อตัวอย่าง" เขตคลองเตย และพิธีน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 2 งานวันผู้สูงอายุแห่งชาติและวันครอบครัวไทยเนื่องในโอกาสเทศกาลวันสงกรานต์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เนื่องจากปรากฏสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิ - 19) และมีแนวโน้มสถานการณ์ที่รุนแรงขึ้น รัฐบาลจึงขอความรวมมือให้ทุกหน่วยงานงดจัดกิจกรรมที่มีการรวมตัวของผู้คนจำนวนมาก เพื่อลดภาวะเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ทั้งนี้สำนักงานเขตคลองเตยได้ดำเนินการคืนงบประมาณในส่วนกิจกรรมที่ 2 ไปที่สำนักงบประมาณแล้ว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กิจกรรมที่ 2 งานวันผู้สูงอายุแห่งชาติและวันครอบครัวไทยเนื่องในโอกาสเทศกาลวันสงกรานต์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้มีการขออนุมัติยกเลิกการจัดกิจกรรมดังกล่าว ตามหนังสือสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ด่วนที่สุด ที่ กท 0200/926 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2563 เรื่องขอส่งสำเนาสรุปการประชุมเพื่อหารือเรื่องการจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ในสถานการณ์เนื่องจากปรากฏสถานการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิ - 19) ในการประชุมดังกล่าว มีข้อสั่งการให้งดการจัดกิจกรรมในเทศกาลสงกรานต์ทุกชนิด และกิจกรรมที่มีบุคคลรวมตัวกันเป็นจำนวนมาก

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-กิจกรรมที่ 3 งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 68 พรรษา ได้มีการขออนุมัติยกเลิกการจัดงานฯ เนื่องจากปรากฎสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ทั้งในและต่างประเทศเพื่อเป็นการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรคฯมิให้นำไปสู่การระบาดระลอกใหม่ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีตามมติเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ จึงให้ขยายระยะเวลาการใช้บังคับประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปอีกคราวหนึ่ง ตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ จนถึงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม

(25) 15. ร้อยละการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน
[มิติที่ 1 : ]

๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ
15. ร้อยละการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร และตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2562 สำนักงานเขตคลองเตยโดยฝ่ายทะเบียนดำเนินการเกี่ยวกับการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านได้ จำนวน 8 หลัง และมีการรายงานผลห้สำนักผังเมืองเป็นประจำทุกเดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2562 สำนักงานเขตคลองเตยโดยฝ่ายโยธาดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้าง จำนวน 10 หลัง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 1. ฝ่ายทะเบียนดำเนินการเกี่ยวกับการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านได้ จำนวน 254 หลัง และมีการรายงานผลให้สำนักผังเมืองเป็นประจำทุกเดือน 2. ฝ่ายโยธาดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ได้จำนวน 31 ราย และมีการรายงานผลให้สำนักผังเมืองเป็นประจำทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - มิถุนายน 2563 ฝ่ายทะเบียนดำเนินการเกี่ยวกับการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านได้ จำนวน 1,772 หลัง และมีการรายงานผลให้สำนักผังเมืองเป็นประจำทุกเดือน 2.ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - กรกฎาคม 2563 ฝ่ายโยธาดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ได้จำนวน 88 ราย และมีการรายงานผลให้สำนักผังเมืองเป็นประจำทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - สิงหาคม 2563 ฝ่ายทะเบียนดำเนินการเกี่ยวกับการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านได้ จำนวน 1,970 หลัง และมีการรายงานผลให้สำนักผังเมืองเป็นประจำทุกเดือน 2.ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - สิงหาคม 2563 ฝ่ายโยธาดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งที่มีการอนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร ได้จำนวน 98 ราย และมีการรายงานผลให้สำนักผังเมืองเป็นประจำทุกเดือน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(26) 16. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
16. ร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :91.55

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
70.00

100 / 100
4
91.55

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. อยุ่ระหว่างการขออนุมัติเงินประจำงวด 2. ติดต่อสถานที่ศึกษาดูงาน ณ บ้านไม้ชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม 3. ประสานวิทยากรกำหนดหลักสูตรวิชาการ 4. กำหนดศึกษาดูงานในเดือนกุมภาพันธ์ 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-โครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ศึกษาเรียนรู้การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 ณ บ้านไม้ชายเลนรีสอร์ท อำเภอเมือง จังหวัดสงคราม ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประกอบด้วยสมาชิกสภาเด็กและเยาวชนคลองเตย พร้อมทั้งเด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตคลองเตยจำนวน 40 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการจำนวน 5 คน รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 45 คน ครบตามเป้าหมายที่ตั้งไว้โดยผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจร้อยละ 91.55

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการประชุมสภาเด็กและเยาวชนเขตคลองเตยและจัดกิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวมทั้งสิ้น 45 คน ประกอบด้วย เด็กและเยาวชนในพื้นที่เขตคลองเตย จำนวน 40 คน และเจ้าหน้าที่ดำเนินการ จำนวน 5 คน ครบตามเป้าหมายที่ตั้งไว้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร เรียบร้อยแล้ว พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 91.55

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๖.๒ - เมืองแห่งนักท่องเที่ยวระดับโลก

(27) 17. จำนวนครั้งในการรับ - ส่งประชาชนที่ใช้บริการโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ
[มิติที่ 1 : ]

๖.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยวระดับโลก
17. จำนวนครั้งในการรับ - ส่งประชาชนที่ใช้บริการโครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ

หน่วยนับ :ครั้งต่อวัน

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้งต่อวัน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- กำหนดจุดรับบริการประชาชนในเวลากลางคืน ระหว่างเวลา 21.00 - 24.00 น. - จัดรถยนต์สายตรวจพร้อมเจ้าหน้าที่ประจำรถสายตรวจ สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันจอดหรือวิ่งบริเวณพื้นที่เป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- กำหนดจุดรับบริการประชาชนในเวลากลางคืน ระหว่างเวลา 21.00 - 24.00 น. - จัดรถยนต์สายตรวจพร้อมเจ้าหน้าที่ประจำรถสายตรวจ สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันจอดหรือวิ่งบริเวณพื้นที่เป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-กำหนดจุดรับบริการประชาชนในเวลากลางคืน ระหว่างเวลา 21.00 - 24.00 น. - จัดรถยนต์สายตรวจพร้อมเจ้าหน้าที่ประจำรถสายตรวจ สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันจอดหรือวิ่งบริเวณพื้นที่เป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-กำหนดจุดรับบริการประชาชนในเวลากลางคืน ระหว่างเวลา 21.00 - 24.00 น. - จัดรถยนต์สายตรวจพร้อมเจ้าหน้าที่ประจำรถสายตรวจ สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันจอดหรือวิ่งบริเวณพื้นที่เป้าหมาย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(28) 18. ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ 18.1 ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
18. ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้
18.1 ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำรวจรายการสิ่งปลูกสร้างจำนวน 241 หลังคาเรือน สำรวจรายการห้องชุดจำนวน 1,624 ห้อง รวมทั้งสิ้น 1,865 หลังคาเรือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-รวมความคืบหน้าที่ดำเนินการสำรวจไปแล้ว 31,258 ราย จำนวน 40,963 หลังคาเรือน คิดเป็นร้อยละ 55.85 โดยสำรวจที่ดินจำนวน 4,021 แปลง คิดเป็นร้อยละ 26.25 แบ่งการใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1. บ้านหลังหลัก จำนวน 17,231 ราย/หลังคาเรือน 2. บ้านหลังรอง จำนวน 11,433 ราย/หลังคาเรือน 3. ใช้ประโยชน์หลายประเภท 516 ราย นับได้จำนวน 584 หลังคาเรือน 4. การใช้ประโยชน์อื่นๆ 2,088 ราย นับได้จำนวน 11,715 หลังคาเรือน 5. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า 68 ราย คิดเป็นรายแปลงได้จำนวน 261 แปลง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-1.ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ประมาณการรายรับจำนวนเงิน 39,000,000 บาท ยอดจัดเก็บ 1 ตุลาคม 2562 - 30 มิถุนายน 2563 จำนวน 306 ราย จำนวนเงิน 87,500,824.80 บาท คิดเป็นร้อยละ 224.36 2.ภาษีบำรุงท้องที่ ประมาณการรายรับจำนวนเงิน 200,000 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 51 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.90 จำนวนเงิน 199,796.13 บาท 3.ภาษีบำรุงท้องที่ ประมาณการรายรับจำนวนเงิน 41,500,000 บาท ยอดจัดเก็บ จำนวน 2,802 ราย จำนวนเงิน 32,955,235.48 บาท คิดเป็นร้อยละ 79.41

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ตั้งแต่เดือน 1 ตุลาคม 2562 - 25 กันยายน 2563 1. ยอดสำนักงานเขตแจ้งการประเมิน จำนวน 16,575 ราย 2. ยอดที่ได้รับการยกเว้นมูลค่าของฐานภาษี ได้แก่ ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างจำนวน 1,008 ราย ห้องชุด จำนวน 2,548 ราย 3. จำนวนรายของผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ได้รับการแจ้งประเมินภาษีของสำนักงานเขต ทั้งหมดจำนวน 16,575 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(29) 18. ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ 18.2 ร้อยละของการบังคับภาษี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
18. ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้
18.2 ร้อยละของการบังคับภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ไม่มีลูกหนี้ค้างชำระ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ไม่มีลูกหนี้ค้างชำระ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ไม่มีลูกหนี้ค้างชำระ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ไม่มีลูกหนี้ค้างชำระ

** สรุปผลการดำเนินงาน **