ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร : 5006-0975
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 2:
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส click to expand contents
(1 - 4)
(ร้อยละ)
(* 2.1 / 2.2 *)

100 / 100

100 / 100

100 / 100

100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1 click to expand contents
1.เดือนพฤศจิกายน 2562 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 685 ราย ได้รับป้ายรับรอง 659 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.20 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 3 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 148 ราย 2.การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 171 ราย 3.การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 292 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 290 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.32) พบการปนเปื้อน 2 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.68) 4.การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 392 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 376 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 95.92) พบการปนเปื้อน 16 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 4.08) 5.เดือนพฤศจิกายน 2562 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 3 คน 6.วันที่ 2-4 ธันวาคม 2562 ปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะและคุณภาพอาหารสถานที่สะสมอาหาร ประเภท ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 7 แห่ง 7.วันที่ 2-12 ธันวาคม 2562 ปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะและคุณภาพอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ระหว่างเวลา 17.00-21.00 น. จำนวน 46 แห่ง 8.ได้การจัดประชุมและให้ความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่อาสาสมัครอาหารปลอดภัยในโรงเรียน พื้นที่เขตยานนาวา จำนวน 110 คน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร ตามหลักสูตรของกรุงเทพมหานครและการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น รวมทั้งเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัย โดยได้จัดประชุม ฯ ในวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 9.อยู่ระหว่างเตรียมจัดประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาด พื้นที่เขตยานนาวา จำนวน 160 คน ในวันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวากรุงเทพมหานคร
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2 click to expand contents
1. เดือนธันวาคม 2562 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 687 ราย ได้รับป้ายรับรอง 680 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.98 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 7 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 57 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 51 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 312 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 312 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 148 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 146 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 98.65) พบการปนเปื้อน 2 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 1.35) 5. เดือนธันวาคม 2562 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 18 คน 6. ประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย วันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา ผู้เข้าร่วมประชุมฯ จำนวน 160 คน งบประมาณที่ใช้ จำนวน 29,280 บาท 1. เบิกค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านสาธารณสุขในการตรวจสถานประกอบการด้านอาหาร ตามโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย จำนวน 21,000 บาท (งบ 24,000 บาท) 2. เบิกค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มการจัดประชุมและให้ความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่อาสาสมัครอาหารปลอดภัยในโรงเรียน พื้นที่เขตยานนาวา จำนวน 110 คน ในวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เป็นเงิน 2,500 บาท 3. เบิกค่าวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดประชุมและให้ความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่อาสาสมัครอาหารปลอดภัยในโรงเรียน พื้นที่เขตยานนาวา จำนวน 110 คน ในวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เป็นเงิน 5,780 บาท 4. อยู่ระหว่างเบิกค่าประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยวันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา ผู้เข้าร่วมประชุมฯ จำนวน 160 คน เป็นเงิน 4,000 บาท 5. อยู่ระหว่างเบิกค่าวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยจำนวน 110 คน ในวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เป็นเงิน 5,996 บาท 1. เดือนมกราคม 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 690 ราย ได้รับป้ายรับรอง 678 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.26 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 3 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 126 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 133 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 689 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 691 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 98.84) พบการปนเปื้อน 8 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 1.16) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 497 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 478 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 96.18) พบการปนเปื้อน 19 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 3.82) 5. เดือนมกราคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 113 คน 6. ประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย วันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา ผู้เข้าร่วมประชุมฯ จำนวน 160 คน 7. ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันที่ 28 มกราคม 2563 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 27 คน งบประมาณที่ใช้ จำนวน 10,671 บาท 1. เบิกค่าประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยวันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา ผู้เข้าร่วมประชุมฯ จำนวน 160 คน เป็นเงิน 4,000 บาท 2. เบิกค่าวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยจำนวน 110 คน ในวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เป็นเงิน 5,996 บาท 3. เบิกค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันที่ 28 มกราคม 2563 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 27 คน จำนวน 675 บาท 1. เดือนกุมภาพันธ์ 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 526 ราย ได้รับป้ายรับรอง 478 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.87 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 3 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 86 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 98 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 303 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 303 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 232 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 222 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 95.69) พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 4.31) 5. เดือนกุมภาพันธ์ 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 7 คน 6. วันที่ 3 มีนาคม 2563 อบรมและทดสอบประเมินความรู้ผู้สัมผัสอาหาร กลุ่ม ผู้ประกอบการ จำนวน 56 คน 7. วันที่ 4 มีนาคม 2563 อบรมและทดสอบประเมินความรู้ผู้สัมผัสอาหาร กลุ่ม ผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 108 คน 8. รายจ่ายเบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาตรวจสถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 27 วัน จำนวนเงิน 27,000 บาท งบประมาณที่ใช้ จำนวน 27,000 บาท 1. รายจ่ายเบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาตรวจสถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 27 วัน จำนวนเงิน 27,000 บาท
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3 click to expand contents
1. เดือนมีนาคม 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 688 ราย ได้รับป้ายรับรอง 650 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.48 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 6 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน - ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 10 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 6 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 5. เดือนมีนาคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 2 คน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4 click to expand contents
1. เดือนสิงหาคม-กันยายน 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 655 ราย ได้รับป้ายรับรอง 655 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 4 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 59 ราย 2. เดือนสิงหาคม 2563 การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 9 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 1 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 26 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 22 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 84.60) พบการปนเปื้อน 4 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 13.40) 5. เดือนสิงหาคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 8 คน
นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด click to expand contents
๑. สถานประกอบการอาหาร หมายถึง สถานที่จำหน่ายอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ตและมินิมาร์ท ในพื้นที่ ๕๐ เขต ที่ได้รับใบอนุญาตหรือหนังสือรับรองการแจ้งตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข ๒. เกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง เกณฑ์ที่ใช้ตรวจประเมินสถานประกอบการอาหารเพื่อขอรับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ประกอบด้วย ๓ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านความปลอดภัยของอาหาร และด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหาร ดังนี้ 2.1 ด้านอาคารสถานที่ ต้องผ่านเกณฑ์สุขลักษณะสถานประกอบการอาหาร 2.2 ด้านความปลอดภัยของอาหาร ต้องผ่านเกณฑ์ด้านความปลอดภัย ดังนี้ (1) อาหารและวัตถุดิบสุ่มตรวจด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test kit) ทางด้านเคมี อยู่ในเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด ดังนี้ - ต้องไม่พบการปนเปื้อนของสารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว และสารกันรา - ต้องไม่พบสีสังเคราะห์ในอาหาร ที่ห้ามการใช้สี - ต้องไม่พบกรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู - ต้องไม่พบยาฆ่าแมลง สารไอโอเดท และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหารเกินเกณฑ์คุณภาพอาหารที่กำหนด (2) ตรวจความสะอาดของอาหารพร้อมบริโภคภาชนะอุปกรณ์ มือผู้สัมผัสอาหาร โดยใช้ชุดตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียเบื้องต้น (SI-๒) พบการปนเปื้อน ไม่เกิน ร้อยละ 5 กรณี พบการปนเปื้อนสารเคมีอันตราย หรือโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ให้ออกคำสั่ง เจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือคำแนะนำให้ผู้ประกอบการอาหาร ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขให้ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัยโดยสุ่มตรวจวิเคราะห์ซ้ำ 2.3 ด้านบุคลากรผู้สัมผัสอาหารต้องผ่าน การอบรมหรือการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักสูตรการ สุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร และผ่านการทดสอบความรู้โดยได้รับหนังสือรับรองและบัตรประจำตัวผู้สัมผัสอาหาร ๓. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร หมายถึง ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบการอาหารสามารถพัฒนาเพื่อยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหารให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผลผลิต : - จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับ การส่งเสริมให้มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผลลัพธ์ : - ร้อยละสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน click to expand contents
จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครคูณด้วย ๑๐๐ หารด้วยจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมดในพื้นที่เขต
วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล click to expand contents
ใช้แบบตรวจสุขาภิบาลอาหาร (สถานที่จำหน่ายอาหาร สะสมอาหาร ตลาด และบาทวิถี) และใช้ชุดทดสอบเบื้องต้นหาสารปนเปื้อนและจุลินทรีย์
สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ click to expand contents
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
:๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |