ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นายทนุธรรม หนูเพชร / โทร.6718
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 2
ปัจจุบันกรุงเทพมหานครยังคงเผชิญกับสภาพปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร แม้ว่าสถานการณ์โดยรวมจะดีขึ้นโดยลำดับ ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่งกระจายสินค้า วัตถุดิบอาหาร ส่วนใหญ่ มีการนำเข้ามาจากต่างจังหวัด จากหลากหลายช่องทาง การผลิตวัตถุดิบอาหาร ซึ่งคือต้นน้ำของอาหาร ขั้นตอนการผลิต บางส่วนอยู่นอกเหนือการควบคุมกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร ส่งผลให้ผู้บริโภคในกรุงเทพมหานครยังคงพบความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ สารเคมีอันตรายต่างๆ ในวัตถุดิบอาหาร จากการดำเนินการด้านอาหารปลอดภัยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๙ เป็นต้นมา ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มลดลง ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (2557-2561) ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มไม่คงที่ โดยสถิติการปนเปื้อนสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อโรคให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร ในปี 2557-2561 พบร้อยละ 1.9 1.9 2.6 2.5 และ 2.1 ตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อแสนประชากรในกรุงเทพมหานครพบว่ามีแนวโน้มลดลง โดยในปี 2557-2561 พบอัตราป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ 709.0 688.8 678.1 1,015.2 และ 467.2 ตามลำดับ และพบว่าในช่วงเวลาเดียวกันอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อแสนประชากรในระดับประเทศมีแนวโน้มลดลงเช่นกัน ( 1,708.8 1,685.6 1,838.4 1,130.3 และ 1,358.6 ตามลำดับ ) อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานครจะมีแนวโน้มที่ดีขึ้นก็ตาม แต่เมื่อแยกวิเคราะห์สถานการณ์ความปลอดภัยเฉพาะ ด้านเคมี พบว่ายังมีการปนเปื้อนสารเคมีในระดับสูง เช่น พบสารพิษจากเชื้อราในอาหาร (Aflatoxin) ร้อยละ 8.0 สารเบต้าอะโกนิสต์ในเนื้อหมู ร้อยละ 26.3 และสารโซเดียมไฮดรอกไซด์ปนเปื้อนในอาหารสูงถึงร้อยละ 49.4 ทั้งนี้สืบเนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นแหล่งศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่งกระจายสินค้า และมีการจำหน่ายสินค้าอาหารเป็นจำนวนมากในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่เข้ามาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย สำนักงานเขตยานนาวา จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยขึ้น ต่อเนื่องจาก โครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปี พ.ศ.2562 เพื่อเป็นการคุ้มครองและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย อาหารปลอดโรค ปลอดสารพิษ บริโภคได้อย่างมั่นใจ โดยมีภารกิจหลัก 4 ประการ คือ การตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีในอาหารและน้ำ การจัดอบรม ผู้ประกอบปรุง ผู้สัมผัสอาหารและอาสาสมัครอาหารปลอดภัย การสร้างเครือข่ายอาหารปลอดภัยและการจัดจ้างเจ้าหน้าที่ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาลเพื่อปฏิบัติงานตามโครงการฯ ทั้งนี้เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัย เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญ ในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่เขตยานนาวาและทั่วพื้นที่กรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย
50060400/50060400
1.เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3.เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร 4.เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์และวิสัยทัศน์ด้านอาหารปลอดภัยให้กว้างไกลและเหมาะสมกับสถานการณ์ และพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้เพื่อคุณภาพงานด้านอาหารปลอดภัย 5.เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 6.เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
1.สถานประกอบการด้านอาหารในพื้นที่เขตยานนาวา ได้รับการตรวจสุขลักษณะผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ร้อยละ 100 2.ร้อยละ 95 ของอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจคุณภาพอาหารไม่พบการปนเปื้อน
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน% |
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2020-09-23)
23/09/2563 : 1. เดือนสิงหาคม-กันยายน 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 655 ราย ได้รับป้ายรับรอง 655 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 4 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 59 ราย 2. เดือนสิงหาคม 2563 การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 9 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 1 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 1 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 26 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 22 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 84.60) พบการปนเปื้อน 4 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 13.40) 5. เดือนสิงหาคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 8 คน 6. ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันที่ 18 สิงหาคม 2563 เวลา 14.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 29 คน งบประมาณที่ใช้ จำนวน 725 บาท 1. เบิกค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 725 บาท การประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันที่ 18 สิงหาคม 2563 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 29 คน
** ปัญหาของโครงการ :1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. ประสานงานก่อนเข้าตรวจสถานประกอบการด้านอาหาร
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 88.00 (2020-08-28)
28/08/2563 : 1. เดือนกรกฎาคม 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 666 ราย ได้รับป้ายรับรอง 589 ราย คิดเป็นร้อยละ 88.44 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 1 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 28 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 116 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 196 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 195 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.49) พบการปนเปื้อน 1 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.51) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 193 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 165 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 85.50) พบการปนเปื้อน 28 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 14.50) 5. เดือนกรกฎาคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 3 คน
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 3. ร้านอาหารปิดเนื่องจากปัญหาโควิด-19 ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. ตรวจสถานที่จำหน่ายอาหารหลังจากที่โควิด-19 สถานการณ์ดีขึ้น
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 86.50 (2020-07-31)
31/7/2563 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. เดือนมิถุนายน 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 674 ราย ได้รับป้ายรับรอง 583 ราย คิดเป็นร้อยละ 86.50 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 1 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 28 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 28 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 129 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 129 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 92 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 92 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 5. เดือนมิถุนายน 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 3 คน 6. เดือนกรกฎาคม 2563 ตรวจประเมินการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน จำนวน 24 แห่ง
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 3. ร้านอาหารปิดเนื่องจากปัญหาโควิด-19 ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. ตรวจสถานที่จำหน่ายอาหารหลังจากที่โควิด-19 สถานการณ์ดีขึ้น
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2020-06-29)
29/06/2563 : 1. เดือนเมษายน 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 688 ราย ได้รับป้ายรับรอง 649 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.33 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน - ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน - ราย 2 การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 1 ราย 3 การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 9 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 9 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4 การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 5 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 5 เดือนเมษายน 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 2 คน
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 3. ร้านอาหารปิดเนื่องจากปัญหาโควิด-19 ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. ตรวจสถานที่จำหน่ายอาหารหลังจากที่โควิด-19 สถานการณ์ดีขึ้น
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 94.00 (2020-05-28)
2020-5-28 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...การดำเนินการ 1. เดือนเมษายน 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 688 ราย ได้รับป้ายรับรอง 649 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.33 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน - ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน - ราย 2 การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 1 ราย 3 การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 9 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 9 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4 การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 5 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 5 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 5 เดือนเมษายน 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 2 คน งบประมาณที่ใช้ จำนวน - บาท
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 3. ร้านอาหารปิดเนื่องจากปัญหาโควิด-19 ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. ตรวจสถานที่จำหน่ายอาหารหลังจากที่โควิด-19 สถานการณ์ดีขึ้น
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 76.00 (2020-04-22)
22/04/2563 : 1. เดือนมีนาคม 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 688 ราย ได้รับป้ายรับรอง 650 ราย คิดเป็นร้อยละ 94.48 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 6 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน - ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 10 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 3 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 3 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 6 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 6 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 5. เดือนมีนาคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 2 คน
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2020-03-24)
1. เดือนกุมภาพันธ์ 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 526 ราย ได้รับป้ายรับรอง 478 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.87 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 3 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 86 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 98 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 303 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 303 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) พบการปนเปื้อน 0 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 232 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 222 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 95.69) พบการปนเปื้อน 10 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 4.31) 5. เดือนกุมภาพันธ์ 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 7 คน 6. วันที่ 3 มีนาคม 2563 อบรมและทดสอบประเมินความรู้ผู้สัมผัสอาหาร กลุ่ม ผู้ประกอบการ จำนวน 56 คน 7. วันที่ 4 มีนาคม 2563 อบรมและทดสอบประเมินความรู้ผู้สัมผัสอาหาร กลุ่ม ผู้สัมผัสอาหาร จำนวน 108 คน 8. รายจ่ายเบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาตรวจสถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 27 วัน จำนวนเงิน 27,000 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2020-02-24)
1. เดือนมกราคม 2563 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 690 ราย ได้รับป้ายรับรอง 678 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.26 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 3 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 126 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 133 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 689 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 691 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 98.84) พบการปนเปื้อน 8 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 1.16) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 497 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 478 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 96.18) พบการปนเปื้อน 19 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 3.82) 5. เดือนมกราคม 2563 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 113 คน 6. ประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย วันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา ผู้เข้าร่วมประชุมฯ จำนวน 160 คน 7. ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันที่ 28 มกราคม 2563 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 27 คน งบประมาณที่ใช้ จำนวน 10,671 บาท 1. เบิกค่าประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยวันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา ผู้เข้าร่วมประชุมฯ จำนวน 160 คน เป็นเงิน 4,000 บาท 2. เบิกค่าวัสดุอุปกรณ์ ในการจัดประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยจำนวน 110 คน ในวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร เป็นเงิน 5,996 บาท 3. เบิกค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประชุมคณะกรรมการเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน วันที่ 28 มกราคม 2563 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 27 คน จำนวน 675 บาท
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2020-01-24)
1. เดือนธันวาคม 2562 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 687 ราย ได้รับป้ายรับรอง 680 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.98 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 7 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 57 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 51 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 312 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 312 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 148 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 146 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 98.65) พบการปนเปื้อน 2 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 1.35) 5. เดือนธันวาคม 2562 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 18 คน 6. ประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาดตามกิจกรรมการพัฒนาตลาดสะอาดได้มาตรฐานอาหารปลอดภัย โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย วันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.๐๐-๑๖.๐๐ น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา ผู้เข้าร่วมประชุมฯ จำนวน 160 คน
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 3. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. ตรวจสอบการติดตั้งถังดักไขมันและเฝ้าระวังการล้างภาชนะ โดยให้น้ำเสียผ่านถังดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการด้านอาหารขนาดใหญ่ มีระบบในการจัดการขยะไขมันและเศษอาหารที่เป็นรูปธรรม เช่น แยกนำไปกำจัด เป็นอาหารสัตว์
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2019-12-25)
25/12/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน... 1. เดือนพฤศจิกายน 2562 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 685 ราย ได้รับป้ายรับรอง 659 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.20 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 3 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 148 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 171 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 292 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 290 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 99.32) พบการปนเปื้อน 2 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 0.68) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 392 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 376 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 95.92) พบการปนเปื้อน 16 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 4.08) 5. เดือนพฤศจิกายน 2562 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 3 คน 6. วันที่ 2-4 ธันวาคม 2562 ปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะและคุณภาพอาหารสถานที่สะสมอาหาร ประเภท ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 7 แห่ง 7. วันที่ 2-12 ธันวาคม 2562 ปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะและคุณภาพอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ระหว่างเวลา 17.00-21.00 น. จำนวน 46 แห่ง 8. ได้การจัดประชุมและให้ความรู้การสุขาภิบาลอาหารแก่อาสาสมัครอาหารปลอดภัยในโรงเรียน พื้นที่ เขตยานนาวา จำนวน 110 คน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสุขาภิบาลอาหาร ตามหลักสูตร ของกรุงเทพมหานครและการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร โดยใช้ชุดทดสอบเบื้องต้น รวมทั้งเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังด้านอาหารปลอดภัย โดยได้จัดประชุม ฯ ในวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2562 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 9. อยู่ระหว่างเตรียมจัดประชุมให้ความรู้การสุขาภิบาลตลาดแก่ผู้ประกอบการและผู้ค้าในตลาด พื้นที่เขต ยานนาวา จำนวน 160 คน ในวันจันทร์ที่ 20 มกราคม ๒๕63 เวลา 13.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สำนักงานเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
** ปัญหาของโครงการ :ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้สัมผัสอาหารยังไม่ได้รับการอบรมทุกคน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้สัมผัสอาหารบ่อย 2. กลุ่มแรงงานต่างด้าวไม่ได้ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร 3. ผู้ประกอบการด้านอาหารมีการลักลอบทิ้งขยะไขมันลงในท่อระบายน้ำสาธารณะ ข้อเสนอแนะ 1. แจ้งสถานที่รับจัดอบรม/ทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหารให้ผู้ประกอบการทราบ 2. ตรวจสอบการติดตั้งถังดักไขมันและเฝ้าระวังการล้างภาชนะ โดยให้น้ำเสียผ่านถังดักไขมันหรือระบบบำบัดน้ำเสียของสถานประกอบการ 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการด้านอาหารขนาดใหญ่ มีระบบในการจัดการขยะไขมันและเศษอาหารที่เป็นรูปธรรม เช่น แยกนำไปกำจัด เป็นอาหารสัตว์
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2019-11-25)
25/11/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการ 1.เดือนตุลาคม 2561 สถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 690 ราย ได้รับป้ายรับรอง 669 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.96 1.1 ขอรับป้ายรับรองฯ รายใหม่ จำนวน 0 ราย 1.2 ขอต่ออายุป้ายรับรองฯ จำนวน 91 ราย 2. การปฏิบัติงานตรวจสุขลักษณะสถานประกอบการด้านอาหาร จำนวน 91 ราย 3. การตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร จำนวน 108 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 108 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 96.60) 4. การตรวจหาจุลินทรีย์ จำนวน 69 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน 69 ตัวอย่าง (คิดเป็นร้อยละ 100) 5. เดือน ตุลาคม 2562 จัดทดสอบประเมินความรู้การสุขาภิบาลอาหาร ที่สำนักงานเขตยานนาวา มีผู้เข้ารับการอบรม/ทดสอบ จำนวน 6 คน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2019-10-25)
25/10/2562 : อยู่ระหว่างขั้นตอน...เขียนโครงการ เสนออนุมัติโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี่ข้อเสนอแนะ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มีข้อเสนอแนะ
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **