Showing 1-112 of 112 items.

แสดงโครงการฯ/กิจกรรม : สำนักอนามัย :: ()

#สำนัก/สำนักงานเขตActions (สยป.3)สยป.3Report Dateชื่อโครงการชื่อ OKRผลดำเนินการReport Note
1สำนักอนามัย02-04-2025โครงการจัดบริการมิติสุขภาพเพื่อการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการสำหรับคนพิการร้อยละชุมชนได้รับบริการตรวจประเมินเพื่อออกใบรับรองความพิการเชิงรุก (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก)0 จากรายงานผลการดำเนินงานเพื่อเข้าถึงสิทธิสวัสดิการของคนพิการ เดือนตุลาคม 2567 - กุมภาพันธ์ 2568 มีชุมชนที่สำรวจพบคนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย จำนวน 656 ชุมชน 854 คน ซึ่งมีชุมชนที่มีคนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกายได้รับการประเมินออกเอกสารรับรองความพิการ จำนวน 656 ชุมชน ผ่านการประเมินและได้รับการออกเอกสารรับรองความพิการ จำนวน 819 คน ไม่สามารถออกเอกสารรับรองความพิการได้เนื่องจากไม่เข้าตามหลักเกณฑ์ความพิการ จำนวน 29 คน ส่งต่อจำนวน 5 คน และอื่นๆ (เสียชีวิต) 1 คน รวมจำนวน 854 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของชุมชนได้รับบริการตรวจประเมินเพื่อออกเอกสารรับรองความพิการเชิงรุก
2สำนักอนามัย02-04-2025โครงการจัดบริการมิติสุขภาพเพื่อการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการสำหรับคนพิการร้อยละของผู้มีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนกายอุปกรณ์ได้รับการสนับสนุน (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก)0จากรายงานผลการดำเนินงานเพื่อเข้าถึงสิทธิสวัสดิการของคนพิการ เดือนตุลาคม 2567 - กุมภาพันธ์ 2568 ผู้ที่ประเมินความพิการ มีความประสงค์ขอรับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวตามความต้องการจำเป็นต้องใช้กายอุปกรณ์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 98 คน ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว หรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 100
3สำนักอนามัย01-04-2025โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (เงินนอกงบประมาณฯ 522,200 บาท)อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0จัดทำเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการอบรม กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการการฝึกซ้อมแผน ระหว่างวันที่ 22-23 เมษายน 2568 ประกอบด้วย 1. คำสั่งการอบรม 2. เอกสารวิทยากร ประกอบการฝึกอบรม 3. คำสั่ง EOC ตามกลุ่มภารกิจ 4. แบบทดสอบ Pre & Post Test 5. แบบประเมินความพึงพอใจ
4สำนักอนามัย31-03-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)7.66สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 31 มีนาคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,983 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 6,960 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.02 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 3,863 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.11 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,838 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.66 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2568)
5สำนักอนามัย31-03-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)7.66สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 31 มีนาคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,983 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 6,960 ราย คิดเป็นร้อยละ 29.02 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 3,863 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.11 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,838 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.66 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2568)
6สำนักอนามัย31-03-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร2ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค
7สำนักอนามัย31-03-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)100ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 28 ก.พ. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 32,717 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 32,688 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.91)ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.09) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
8สำนักอนามัย31-03-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร2ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค
9สำนักอนามัย31-03-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)100ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 28 ก.พ. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 32,717 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 32,688 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.91) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.09) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
10สำนักอนามัย31-03-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)100ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 28 ก.พ. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 32,717 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 32,688 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.91)ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.09) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
11สำนักอนามัย31-03-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร2ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค
12สำนักอนามัย17-03-2025กิจกรรมการรับอุปการะสุนัขจากศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานคร ร้อยละของสุนัขในศูนย์ควบคุมสุนัขกรุงเทพมหานครที่ได้รับการอุปการะจากจำนวนสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะที่กำหนด33.71ผลการดำเนินการเดือนกุมภาพันธ์ 2568 สุนัขที่ได้รับอุปการะจำนวน 9 ตัว จากสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะที่กำหนดจำนวน 24 ตัว ผลการดำเนินการสะสมตั้งเเต่เดือนตุลาคม 2567 - กุมภาพันธ์ 2568 สุนัขที่ได้รับอุปการะจำนวน 30 ตัว จากสุนัขที่ผ่านเกณฑ์การอุปการะที่กำหนดจำนวน 89 ตัว คิดเป็นร้อยละ 33.71
13สำนักอนามัย17-03-2025กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referralร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 15 นาที87.77จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 15 นาที เท่ากับ 5,805 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 6,614 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 87.77 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. 67 - ก.พ. 68)
14สำนักอนามัย17-03-2025กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referralร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 30 นาที96.89จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 30 นาที เท่ากับ 6,408 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 6,614 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 96.89 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. 67 - ก.พ. 68)
15สำนักอนามัย05-03-2025โครงการจัดบริการศูนย์เด็กอ่อนกรุงเทพมหานครจำนวนศูนย์รับเลี้ยงเด็กอ่อน ที่เปิดรับเด็กอายุตั้งแต่ 3 เดือน - 3 ปี0อยู่ระหว่างขอความเห็นชอบและขออนุมัติโครงการจัดบริการศูนย์เด็กอ่อนกรุงเทพมหานคร โดยขอจัดสรรงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายทั่วไป กรณีค่าใช้จ่าเพื่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร งบประมาณ 4,555,550 บาท เพื่อดำเนินการตามหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี (งบกลาง)
16สำนักอนามัย05-03-2025โครงการจัดบริการมิติสุขภาพเพื่อการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการสำหรับคนพิการร้อยละของผู้มีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนกายอุปกรณ์ได้รับการสนับสนุน (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก)100จากรายงานผลการดำเนินงานเพื่อเข้าถึงสิทธิสวัสดิการของคนพิการ เดือนตุลาคม 2567 - กุมภาพันธ์ 2568 ผู้ที่ประเมินความพิการ มีความประสงค์ขอรับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวตามความต้องการจำเป็นต้องใช้กายอุปกรณ์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 98 คน ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว หรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 100
17สำนักอนามัย05-03-2025กิจกรรมตรวจประเมินสุขลักษณะกิจการที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง ร้อยละของสถานประกอบการเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงได้รับการตรวจประเมินสุขลักษณะเเละ/หรือขออนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ80.63จำนวนสถานประกอบการที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยง จำนวน 615 แห่ง ( เปลี่ยนไปจำหน่ายสินค้าอื่น 13 แห่ง ดังนั้น 639-13 = 615) เลิกกิจการ จำนวน 11 แห่ง ตรวจประเมินสสุขลักษณะและ/ออกใบอนุญาต จำนวน 487 แห่ง วิธีคำนวณ (จำนวนสถานประกอบกิจการที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงได้รับการตรวจประเมินสุขลักษณะและ/หรือขออนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ)/(จำนวนสถานประกอบกิจการที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงทั้งหมด)x100 = 487/(615-11)*100 = 80.63
18สำนักอนามัย05-03-2025โครงการร้านยาเครือข่าย สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 50220 บาท)ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele - Health100ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele – health (ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ; ดำเนินการแล้วร้อยละ 100 ; ศูนย์บริการสาธารณสุขเชื่อมครบทั้ง 69 แห่ง)
19สำนักอนามัย05-03-2025โครงการสร้างเสริมพัฒนาการด้านภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยในชุมชน (เงินนอกงบประมาณฯ 277,480 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)88.65อยู่ระหว่างดำเนินการ ผลการดำเนินการเดือนกุมภาพันธ์ 2568 เฝ้าระวังและคัดกรองพัฒนาการ จำนวน 35,741 คน มีพัฒนาการสมวัย 31,684 คน คิดเป็นร้อยละ 88.65
20สำนักอนามัย05-03-2025โครงการจัดบริการมิติสุขภาพเพื่อการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการสำหรับคนพิการร้อยละชุมชนได้รับบริการตรวจประเมินเพื่อออกใบรับรองความพิการเชิงรุก (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก)100จากรายงานผลการดำเนินงานเพื่อเข้าถึงสิทธิสวัสดิการของคนพิการ เดือนตุลาคม 2567 - กุมภาพันธ์ 2568 มีชุมชนที่สำรวจพบคนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย จำนวน 656 ชุมชน 854 คน ซึ่งมีชุมชนที่มีคนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกายได้รับการประเมินออกเอกสารรับรองความพิการ จำนวน 656 ชุมชน ผ่านการประเมินและได้รับการออกเอกสารรับรองความพิการ จำนวน 819 คน ไม่เข้าหลักเกณฑ์ความพิการหรือไม่สามารถออกเอกสารรับรองความพิการได้ จำนวน 29 คน และส่งต่อจำนวน 5 คน อื่นๆ (เสียชีวิต) 1 คน รวมจำนวน 854 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของ ชุมชนได้รับบริการตรวจประเมินเพื่อออกเอกสารรับรองความพิการเชิงรุก
21สำนักอนามัย05-03-2025โครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (เงินนอกงบประมาณฯ 782,260 บาท)อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)5.87จำนวนผู้ป่วย 320 ราย อัตราป่วย = 5.87 (จำนวนผู้ป่วยปี 2568*100,000 )/ จำนวนประชากรปี 2567 = (320*100,000) /5,455,020 ค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 1.89 (ข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร สัปดาห์ที่ ที่ 8 (ข้อมูลวันที่ 1 - 22 กุมภาพันธ์ 2568) ****เกณฑ์ = อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปี2568 น้อยกว่าค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ของข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง = 152.64 ต่อประชากรแสนคน หรือจำนวนผู้ป่วย 8,438 ราย****
22สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมประสานส่งต่อผู้ป่วยวัณโรคอย่างมีประสิทธิภาพ โดยศูนย์กลางการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค (TB Referral Center)อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)96.25 ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยวัณโรคที่ดำเนินการส่งต่อ ตั้งแต่ 1 ตลาคม 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อทั้งสิ้น จำนวน 240 ราย 1. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อถึงปลายทาง จำนวน 231 ราย 2. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อยังไม่ถึงปลายทาง จำนวน 9 ราย (ยังไม่ถึงวันนัด) 3. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อไม่ถึงปลายทาง จำนวน 0 ราย (ติดต่อไม่ได้/เสียชีวิต/ย้ายที่อยู่) คิดเป็นร้อยละ 96.25
23สำนักอนามัย04-03-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร0ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2568)
24สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร0ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2568)
25สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue สัดส่วนจำนวนเรื่องค้างต่อเรื่องร้องเรียนทั้งหมด0จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 - 4 มีนาคม 2568 สำนักอนามัยไม่มีเรื่องคงค้างในระบบ
26สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 4 มีนาคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,896 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 4,720 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.75 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 2,716 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.37 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,224 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.12 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 4 มีนาคม 2568)
27สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0- ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 31 ม.ค. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 25,361 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25,332 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.89) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.11) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
28สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร0ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2568)
29สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0- ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 31 ม.ค. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 25,361 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25,332 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.89) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.11) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
30สำนักอนามัย04-03-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 4 มีนาคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,896 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 4,720 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.75 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 2,716 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.37 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,224 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.12 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 4 มีนาคม 2568)
31สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue สัดส่วนจำนวนเรื่องที่ดำเนินการเสร็จสิ้นต่อเรื่องทั้งหมด0จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – 4 มีนาคม 2568 เรื่องร้องเรียนมีจำนวนทั้งหมด 221 เรื่อง มีเรื่องเสร็จสิ้น 200 เรื่อง คิดเป็น 90.50%
32สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue ร้อยละของเรื่องทั้งหมดที่แจ้งผ่าน Traffy Fondue ได้รับการแก้ไข0จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – 4 มีนาคม 2568 เรื่องร้องเรียนมีจำนวนทั้งหมด 221 เรื่อง มีเรื่องเสร็จสิ้น 200 เรื่อง คิดเป็น 90.50%
33สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 4 มีนาคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,896 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 4,720 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.75 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 2,716 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.37 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,224 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.12 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 4 มีนาคม 2568)
34สำนักอนามัย04-03-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0- ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 31 ม.ค. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 25,361 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25,332 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.89) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.11) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 29 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
35สำนักอนามัย04-03-2025กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยในการแก้ไขปัญหา (แจกแจงรายหน่วยงาน)3.96จากข้อมูลในระบบ Traffy Fondue ความพึงพอใจของประชาชนอยู่ที่ 3.96/5 จากผู้ประเมิน 73 ครั้ง 5 ดาว : 42 คน, 4 ดาว : 11 คน, 3 ดาว : 6 คน, 2 ดาว : 3 คน, 1 ดาว : 11 คน
36สำนักอนามัย24-02-2025กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referralร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 15 นาที0จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 15 นาที เท่ากับ 4,626 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 5,326 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 86.86 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. 67 - ม.ค. 68)
37สำนักอนามัย24-02-2025กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referralร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 30 นาที0จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 30 นาที เท่ากับ 5,145 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 5,326 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 96.60 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. 67 - ม.ค. 68)
38สำนักอนามัย13-02-2025โครงการชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 10,000,000 บาท)27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด0ความคืบหน้าการดำเนินงานชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม ในพื้นที่ 43 เขต ยกเว้นคลองเตย จตุจักร ดุสิต พระนคร วัฒนา สัมพันธวงศ์ และสายไหม ดำเนินการแล้ว รวม 71 ชุมชน ในพื้นที่ 16 เขต (ร้อยละ 35.32) ได้แก่ เขตจอมทอง ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา บางกอกใหญ่ บางคอแหลม บางซื่อ บางนา บางพลัด บางรัก พระโขนง ภาษีเจริญ มีนบุรี ยานนาวา สวนหลวง สะพานสูง และสาทร ความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ ร้อยละ 3.13 2) ชุมชนรักษาสภาพ (เป้าหมาย 347 ชุมชน ในพื้นที่ 48 เขต ยกเว้นเขตบางนา และ พญาไท) ดำเนินการแล้ว รวม 99 ชุมชน ในพื้นที่ 14 เขต (ร้อยละ 28.53) ได้แก่ เขตคลองเตย คลองสาน ดุสิต บางซื่อ บางพลัด บางรัก พระโขนง พระนคร ภาษีเจริญ มีนบุรี สวนหลวง สะพานสูง สัมพันธวงศ์ และสาทร ความก้าวหน้าในการดำเนินโครงการ ร้อยละ 9.51 และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน
39สำนักอนามัย13-02-2025โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 64,000 บาท) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)0Retention Rate ปี 2568 ทุกระบบยกเว้นต้องโทษ จำนวนผู้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่พ้นระยะการบำบัดรักษาและได้รับการจําหน่ายทั้งหมด 1,946 ราย จำนวนผู้ที่ได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดรักษา 1,297 ราย = 66.65 %
40สำนักอนามัย06-02-2025กิจกรรมการติดตามและเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันรายการ/โครงการ ตามข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำงบประมาณ พ.ศ. 2568 (ประเภทงบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ของสำนักอนามัย ร้อยละความสำเร็จของการติดตามและประเมินผลการก่อหนี้ผูกพันงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (ประเภทงบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ของหน่วยรับงบประมาณกรุงเทพมหานคร0ผลการดำเนินงานก่อหนี้ผูกพัน ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 งบลงทุนที่สำนักอนามัยดำเนินการทั้งหมด 52 รายการ ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 44 รายการ ร้อยละ 84.62 รายละเอียด ดังนี้ 1. ค่าครุภัณฑ์ (37 รายการ) ก่อหนี้ผูกพันแล้ว (37 รายการ) 2. ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง 2.1 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (ไม่กิน 1 ปี) ( 9 รายการ) - สำนักอนามัยดำเนินการ 7 รายการ ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 1 รายการ - โอนให้เขตธนบุรีดำเนินการ 2 รายการ 2.1 โครงการต่อเนื่อง 2.1.1 โครงการต่อเนื่องเดิม (ปี 2567-2568) (6 รายการ) ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 6 รายการ 2.1.2 โครงการต่อเนื่องใหม่ (ปี 2568-2569) (7 รายการ) - สำนักอนามัยดำเนินการ 2 รายการ ยังไม่ก่อหนี้ผูกพัน - โอนให้โยธาดำเนินการ 5 รายการ
41สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 กุมภาพันธ์ 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,807 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 4,825 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.27 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 2,780 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.68 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,255 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.27 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568)
42สำนักอนามัย05-02-2025โครงการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิศูนย์บริการสาธารณสุข ร้อยละของประชาชนที่รับบริการ ศบส. พลัส ต่อประชาชนที่ใช้บริการแล้วกลับบ้านโดยที่ไม่ต้องไปรพ. (ในกลุ่มผู้ป่วยโรคที่มีภาวะที่กำหนด)0ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (วันที่ 2 มกราคม 2568 ศบส.68 เปิดให้บริการฯ เพิ่มเติม ) พบว่ามีผู้รับบริการ จำนวนทั้งสิ้น 450 คน จำหน่ายกลับบ้าน 423 คน (คิดเป็นร้อยละ 94) ส่งต่อ รพ. จำนวน 27 คน (คิดเป็นร้อยละ 6) ข้อมูลเดือน ต.ค. 67 - ม.ค..68
43สำนักอนามัย05-02-2025โครงการร้านยาเครือข่าย สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 50220 บาท)ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele - Health0ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele – health (ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ; ดำเนินการแล้วร้อยละ 100 ; ศูนย์บริการสาธารณสุขเชื่อมครบทั้ง 69 แห่ง)
44สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 67) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 17,801 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 17,776 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.86) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.14) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 15 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.94
45สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0 สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 กุมภาพันธ์ 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,807 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 4,825 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.27 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 2,780 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.68 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,255 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.27 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568)
46สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 67) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 17,801 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 17,776 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.86) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.14) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 15 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.94
47สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue สัดส่วนจำนวนเรื่องที่ดำเนินการเสร็จสิ้นต่อเรื่องทั้งหมด92.22จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – 5 กุมภาพันธ์ 2568 เรื่องร้องเรียนมีจำนวนทั้งหมด 180 เรื่อง มีเรื่องเสร็จสิ้น 166 เรื่อง คิดเป็น 92.22%
48สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue ร้อยละของเรื่องทั้งหมดที่แจ้งผ่าน Traffy Fondue ได้รับการแก้ไข92.22จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – 5 กุมภาพันธ์ 2568 เรื่องร้องเรียนมีจำนวนทั้งหมด 180 เรื่อง มีเรื่องเสร็จสิ้น 166 เรื่อง คิดเป็น 92.22%
49สำนักอนามัย05-02-2025โครงการรักอย่างปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (งบเงินอุดหนุน 1,700,000 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6)0ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force)
50สำนักอนามัย05-02-2025โครงการรักอย่างปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (งบเงินอุดหนุน 1,700,000 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี ทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,864 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,432 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 96.74
51สำนักอนามัย05-02-2025โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร18. ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร25970417- เดือนมกราคม 2568 ได้ 190 โครงการ เงิน 25,970,417.00 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 7.49 - สะสม 859 โครงการ เงิน 126,838,070.94 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 36.60 ข้อมูล google sheet ณ วันที่ 12 มีนาคม 2568
52สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายร้อยละของคนเสี่ยงสูงที่เข้ามารับบริการคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายต้องได้รับการตรวจคัดกรอง HIV0ข้อมูลเดือนมกราคม 2568 ผู้รับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง HIV = 1,138 คน หารด้วยผู้มารับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล = 1,185 คน ทั้งหมด คูณด้วย 100 คิดเป็นร้อยละ 96.03 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 4 เดือน(ต.ค.2567 - ม.ค.2568) ผู้รับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง HIV = 5,662 คน หารด้วยผู้มารับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล = 5,869คน ทั้งหมด คูณด้วย 100 คิดเป็นร้อยละ 96.47
53สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายสัดส่วนของผู้ป่วยที่ปรึกษาแพทย์ผ่านระบบ telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้านเทียบกับจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด0ข้อมูลเดือนมกราคม 2568 จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 191 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 1,185 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.12 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 4 เดือน(ต.ค.2567 - ม.ค.2568) จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 958 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 5,869 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.32
54สำนักอนามัย05-02-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 กุมภาพันธ์ 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,807 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 4,825 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.27 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 2,780 ราย คิดเป็นร้อยละ 11.68 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 1,255 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.27 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568)
55สำนักอนามัย05-02-2025โครงการรักอย่างปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (งบเงินอุดหนุน 1,700,000 บาท) ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3)0ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 87.1 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 13,740/15,776x 100 = 87.09) (ข้อมูลณวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 68)
56สำนักอนามัย05-02-2025กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue สัดส่วนจำนวนเรื่องค้างต่อเรื่องร้องเรียนทั้งหมด100จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 - 5 กุมภาพันธ์ 2568 สำนักอนามัยไม่มีเรื่องคงค้างในระบบ
57สำนักอนามัย05-02-2025โครงการรักอย่างปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (งบเงินอุดหนุน 1,700,000 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5)0จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่รายงานว่าเคยถูกเลือกปฏิบัติอันเนื่องจากเอชไอวี ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาจำนวน 30 คน จากจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดจากการสำรวจ 291 คน (ข้อมูล ปี 2566 เนื่องจากเป็นการสำรวจ ปีเว้นปี ดำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งในปี 2568 คาดประมาณว่าจะดำเนินการสำรวจในช่วงกลางปี 2568 จึงยังคงรายงานผลการดำเนินการเดิมจนกว่าจะมีการสำรวจใหม่) คิดเป็นร้อยละ 10.31 แหล่งข้อมูล : การสํารวจการตีตราและเลือกปฏิบัติในผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี และผู้ปฏิบัติงานใน สถานบริการสุขภาพ (สํารวจปีเว้นปี) - การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร่วมกับพฤติกรรมที่ สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (สํารวจปีเว้นปี)
58สำนักอนามัย05-02-2025โครงการรักอย่างปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ (งบเงินอุดหนุน 1,700,000 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเอง ทั้งหมด ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,266 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,859 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 99.34
59สำนักอนามัย05-02-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. - 31 ธ.ค. 67) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 17,801 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 17,776 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.86) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 25 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.14) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 15 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 99.94
60สำนักอนามัย04-02-2025โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6)0ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force)
61สำนักอนามัย04-02-2025โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี ทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,864 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,432 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 96.74
62สำนักอนามัย04-02-2025โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเอง ทั้งหมด ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,266 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,859 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 99.34
63สำนักอนามัย04-02-2025โครงการกรุงเทพฯ ห่วงใย ใส่ใจสุขภาพร้อยละของชุมชนจัดตั้งใน กทม. ได้รับบริการเชิงรุกจากสำนักอนามัย0ออกหน่วยบริการเชิงรุกในชุมชนจัดตั้ง เดือน มกราคม 2568 จำนวน 109 ชุมชน และมีจำนวนผู้รับบริการ 3531 คน (ข้อมูลตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568 มีจำนวนชุมชนทั้งหมด 407 ชุมชน จากชุมชนจดจัดตั้ง 2005 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 20.3 และมีผู้รับบริการสะสม 13,919 คน)
64สำนักอนามัย04-02-2025โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี ทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,864 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,432 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 96.74
65สำนักอนามัย04-02-2025โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเอง ทั้งหมด ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,266 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,859 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 99.34
66สำนักอนามัย04-02-2025โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3)0ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 87.09 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 13,740/15,776x 100 = 87.09) (ข้อมูลณวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 68)
67สำนักอนามัย04-02-2025โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี ทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,864 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,432 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 96.74
68สำนักอนามัย04-02-2025โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5)0จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่รายงานว่าเคยถูกเลือกปฏิบัติอันเนื่องจากเอชไอวี ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาจำนวน 30 คน จากจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดจากการสำรวจ 291 คน (ข้อมูล ปี 2566 เนื่องจากเป็นการสำรวจ ปีเว้นปี ดำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งในปี 2568 คาดประมาณว่าจะดำเนินการสำรวจในช่วงกลางปี 2568 จึงยังคงรายงานผลการดำเนินการเดิมจนกว่าจะมีการสำรวจใหม่) คิดเป็นร้อยละ 10.31 แหล่งข้อมูล : การสํารวจการตีตราและเลือกปฏิบัติในผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี และผู้ปฏิบัติงานใน สถานบริการสุขภาพ (สํารวจปีเว้นปี) - การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร่วมกับพฤติกรรมที่ สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (สํารวจปีเว้นปี)
69สำนักอนามัย04-02-2025โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5)0จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่รายงานว่าเคยถูกเลือกปฏิบัติอันเนื่องจากเอชไอวี ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาจำนวน 30 คน จากจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดจากการสำรวจ 291 คน (ข้อมูล ปี 2566 เนื่องจากเป็นการสำรวจ ปีเว้นปี ดำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งในปี 2568 คาดประมาณว่าจะดำเนินการสำรวจในช่วงกลางปี 2568 จึงยังคงรายงานผลการดำเนินการเดิมจนกว่าจะมีการสำรวจใหม่) คิดเป็นร้อยละ 10.31 แหล่งข้อมูล : การสํารวจการตีตราและเลือกปฏิบัติในผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี และผู้ปฏิบัติงานใน สถานบริการสุขภาพ (สํารวจปีเว้นปี) - การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร่วมกับพฤติกรรมที่ สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (สํารวจปีเว้นปี)
70สำนักอนามัย04-02-2025กิจกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดบ้านพิชิตใจ จำนวนผู้เข้ารับการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด บ้านพิชิตใจ20ผลการดำเนินงานของสถานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ประเวศ (บ้านพิชิตใจ) ยอดรับใหม่ประจำเดือนมกราคม 2568 จำนวน 20 ราย คิดรวมตั้งแต่เดือน ตุลาคม- มกราคม 2567 ทั้งหมด 88 ราย (จากเป้าหมาย 300 คน)
71สำนักอนามัย04-02-2025โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6)0ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force)
72สำนักอนามัย04-02-2025โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6)0ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force)
73สำนักอนามัย04-02-2025โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5)0จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่รายงานว่าเคยถูกเลือกปฏิบัติอันเนื่องจากเอชไอวี ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาจำนวน 30 คน จากจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดจากการสำรวจ 291 คน (ข้อมูล ปี 2566 เนื่องจากเป็นการสำรวจ ปีเว้นปี ดำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งในปี 2568 คาดประมาณว่าจะดำเนินการสำรวจในช่วงกลางปี 2568 จึงยังคงรายงานผลการดำเนินการเดิมจนกว่าจะมีการสำรวจใหม่) คิดเป็นร้อยละ 10.31 แหล่งข้อมูล : การสํารวจการตีตราและเลือกปฏิบัติในผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี และผู้ปฏิบัติงานใน สถานบริการสุขภาพ (สํารวจปีเว้นปี) - การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร่วมกับพฤติกรรมที่ สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวี (สํารวจปีเว้นปี)
74สำนักอนามัย04-02-2025โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3)0ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 87.09 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 13,740/15,776x 100 = 87.09 ) (ข้อมูลณวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 68)
75สำนักอนามัย04-02-2025โครงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 1,952,500 บาท) ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)0Retention Rate ปี 2568 ทุกระบบยกเว้นต้องโทษ จำนวนผู้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่พ้นระยะการบำบัดรักษาและได้รับการจําหน่ายทั้งหมด 1,946 ราย จำนวนผู้ที่ได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดรักษา 1,297 ราย = 66.65 % (ข้อมูลประจำเดือน มกราคม 2568)
76สำนักอนามัย04-02-2025โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท)ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1)0จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเอง ทั้งหมด ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,266 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,859 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 99.34
77สำนักอนามัย04-02-2025กิจกรรมการส่งต่อผู้เข้าบำบัดรักษาไปยังศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม ร้อยละของผู้ที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพทางสังคม0 กิจกรรมการส่งต่อผู้เข้าบำบัดรักษาไปยังศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม ผลการดำเนินงานในเดือนมกราคม 2568 จำนวนผู้ขอรับการช่วยเหลือ จำนวน 90 ราย ให้ความช่วยเหลือได้ 40 ราย อยู่ระหว่างให้การช่วยเหลือ จำนวน 46 คน และไม่สามารถติดต่อได้ จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อย 44.44
78สำนักอนามัย04-02-2025โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท) ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3)0ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 87.09 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 13,740/15,776x 100 = 87.09 ) (ข้อมูลณวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 68)
79สำนักอนามัย03-02-2025โครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (เงินนอกงบประมาณฯ 782,260 บาท)อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0จำนวนผู้ป่วย 185 ราย อัตราป่วย = 3.39 (จำนวนผู้ป่วยปี 2568*100,000 )/ จำนวนประชากรปี 2567 = (185*100,000) /5,455,020 (ข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร สัปดาห์ที่ ที่ 4 (ข้อมูลวันที่ 1 - 25 มกราคม 2568) **เกณฑ์ = อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปี2568 น้อยกว่าค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ของข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง = 152.64 ต่อประชากรแสนคน หรือจำนวนผู้ป่วย 8,438 ราย
80สำนักอนามัย03-02-2025โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (เงินนอกงบประมาณฯ 522,200 บาท)อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0การดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ในส่วนกิจกรรมที่ 1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการประเมินความเสี่ยง ความรุนแรงของโรคและภัยสุขภาพ ระหว่างวันที่ 23-24 มกราคม 2568 ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ มหานาค เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพข้าราชการให้สามารถประเมินความเสี่ยง ความรุนแรงของโรคและภัยสุขภาพได้ 2. เพื่อฝึกซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ให้ข้าราชการมีความพร้อมและสามารถบริหารจัดการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขได้อย่างเหมาะสม กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย 1. ข้าราชการในสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ผู้แทนจากสำนักการแพทย์ (โรงพยาบาลตากสิน) คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช เลขานุการสำนักอนามัย สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม สำนักงานโรคติดต่อทางสาธารณสุข สำนักงานชันสูตรสาธารณสุข สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข กองการพยาบาลสาธารณสุข กองเภสัชกรรม กองทันตสาธารณสุข กองสร้างเสริมสุขภาพ และกองสุขาภิบาลอาหาร รวมถึงศูนย์บริการสาธารณสุข 16, 21, 25, 29, 31, 43, 47, 51, 52, 53 และ 59 สำนักงานเขตคลองเตย ดอนเมือง ดินแดง ทวีวัฒนา ภาษีเจริญ และมีนบุรี 2. ผู้แทนจากหน่วยงานภายนอกสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้แก่ ผู้แทนจากกองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข สถาบันป้องกันควบคุมโรคเขตเมือง กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค โรงพยาบาลตำรวจ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี และโรงพยาบาลศิริราช
81สำนักอนามัย21-01-2025กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referralร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 30 นาที0จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 30 นาที เท่ากับ 3,608 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 3,755 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 96.08 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. - ธค. 67)
82สำนักอนามัย10-01-2025โครงการร้านยาเครือข่าย สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 50220 บาท)ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele - Health0ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele – health (ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ; ดำเนินการแล้วร้อยละ 100 ; ศูนย์บริการสาธารณสุขเชื่อมครบทั้ง 69 แห่ง)
83สำนักอนามัย06-01-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0 ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 30 พ.ย. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 11,725 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 11,710 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.87) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 15 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.13) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
84สำนักอนามัย06-01-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 30 พ.ย. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 11,725 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 11,710 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.87) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 15 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.13) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
85สำนักอนามัย06-01-2025กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2566 –6 มกราคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,686 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 3,049 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.87 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 1,777 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.50 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 734 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.10 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 6 มกราคม 2568)
86สำนักอนามัย06-01-2025กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2566 –6 มกราคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,686 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 3,049 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.87 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 1,777 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.50 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 734 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.10 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 6 มกราคม 2568)
87สำนักอนามัย06-01-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 30 พ.ย. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 11,725 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 11,710 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.87) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 15 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.13) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
88สำนักอนามัย06-01-2025โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2566 – 6 มกราคม 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,686 ราย 2) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 3,049 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.87 3) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 1,777 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.50 4) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 734 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.10 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 6 มกราคม 2568)
89สำนักอนามัย04-01-2025โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 740,220 บาท) 27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด0ชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม 2) ชุมชนรักษาสภาพ 347 ชุมชน และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน
90สำนักอนามัย04-01-2025โครงการชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 10,000,000 บาท)27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด0เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2567 มีการจัดประชุมแนวดิ่งเขต 50 เขต เพื่อชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งชุมชนเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชน 2) ชุมชนรักษาสภาพ 347 ชุมชน และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน ซึ่งในขณะนี้ทางสำนักอนามัยโดยสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดได้ดำเนินการทำหนังสือประสานไปยัง 50 เขต เรื่องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เงินอุดหนุนรัฐบาล เรียบร้อยแล้ว ในปัจจุบันสำนักงานเขตกำลังจัดประชุมเตรียมความพร้อมในการดำเนินโครงการ
91สำนักอนามัย04-01-2025โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร18. ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร29830484- เดือนธันวาคม 2567 ได้ 186 โครงการ เงิน 29,830,484.00 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 8.61 - สะสม 669 โครงการ เงิน 100,867,653.94 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 29.10 ข้อมูล google sheet ณ วันที่ 12 มีนาคม 2568
92สำนักอนามัย03-01-2025กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายสัดส่วนของผู้ป่วยที่ปรึกษาแพทย์ผ่านระบบ telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้านเทียบกับจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด0ข้อมูลเดือนธันวาคม 2567 จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 197 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 1,200 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.42 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 3 เดือน(ต.ค. - ธ.ค. 2567) จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 767 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 4,684 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.37
93สำนักอนามัย05-12-2024โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0 ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 31 ต.ค. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 5,784 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 5,772 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.79) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.21) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
94สำนักอนามัย05-12-2024กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 31 ต.ค. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 5,784 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 5,772 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.79) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.21) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
95สำนักอนามัย05-12-2024กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 ธันวาคม 2567 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,486 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 1678 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.14 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 993 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.23 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 377 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.61 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2567)
96สำนักอนามัย05-12-2024กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 31 ต.ค. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 5,784 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 5,772 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.79) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.21) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
97สำนักอนามัย05-12-2024โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 ธันวาคม 2567 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,486 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 1678 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.14 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 993 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.23 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 377 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.61 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2567)
98สำนักอนามัย05-12-2024กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 ธันวาคม 2567 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 23,486 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 1678 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.14 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 993 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.23 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 377 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.61 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2567)
99สำนักอนามัย04-12-2024โครงการชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 10,000,000 บาท)27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด0เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2567 มีการจัดประชุมแนวดิ่งเขต 50 เขต เพื่อชี้แจงแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งชุมชนเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชน 2) ชุมชนรักษาสภาพ 347 ชุมชน และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน ซึ่งในขณะนี้ทางสำนักอนามัยโดยสำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติดได้ดำเนินการทำหนังสือประสานไปยัง 50 เขต เรื่องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เงินอุดหนุนรัฐบาล เพื่อให้สำนักงานเขตได้ดำเนินการต่อไป
100สำนักอนามัย04-12-2024กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายสัดส่วนของผู้ป่วยที่ปรึกษาแพทย์ผ่านระบบ telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้านเทียบกับจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด0จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 258 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 1,548 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.67 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 2 เดือน(ต.ค. - พ.ย. 2567) จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 570 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 3,484 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.36
101สำนักอนามัย04-12-2024โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร18. ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร33432530.5- เดือนพฤศจิกายน 2567 ได้ 229 โครงการ เงิน 33,432,530.50 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 9.65 - สะสม ได้ 483 โครงการ เงิน 71,037,169.94 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 20.50 ข้อมูล google sheet ณ วันที่ 12 มีนาคม 2568
102สำนักอนามัย03-12-2024โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 740,220 บาท) 27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด0ชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม 2) ชุมชนรักษาสภาพ 347 ชุมชน และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน
103สำนักอนามัย20-11-2024กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 31 ต.ค. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 5,784 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 5,772 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.79) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.21) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
104สำนักอนามัย20-11-2024กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0อยู่ระหว่างเตรียมจัดประชุมชี้แจงแนวทางดำเนินการและจัดทำแผนปฏิบัติงานส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์ฯ ร่วมกับ 50 สำนักงานเขต
105สำนักอนามัย20-11-2024โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 31 ต.ค. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 5,784 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 5,772 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.79) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.21) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
106สำนักอนามัย20-11-2024โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0อยู่ระหว่างเตรียมจัดประชุมชี้แจงแนวทางดำเนินการและจัดทำแผนปฏิบัติงานส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์ฯ ร่วมกับ 50 สำนักงานเขต
107สำนักอนามัย20-11-2024กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายสัดส่วนของผู้ป่วยที่ปรึกษาแพทย์ผ่านระบบ telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้านเทียบกับจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด0จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 312 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 1,936 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.12
108สำนักอนามัย20-11-2024กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 - 31 ต.ค. 2567) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 5,784 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 5,772 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.79) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.21) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 12 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100
109สำนักอนามัย20-11-2024กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ)0อยู่ระหว่างเตรียมจัดประชุมชี้แจงแนวทางดำเนินการและจัดทำแผนปฏิบัติงานส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารผ่านเกณฑ์ฯ ร่วมกับ 50 สำนักงานเขต
110สำนักอนามัย19-11-2024โครงการชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 10,000,000 บาท)27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด0ชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม 2) ชุมชนรักษาสภาพ 347 ชุมชน และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน
111สำนักอนามัย19-11-2024โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 740,220 บาท) 27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด0ชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม 2) ชุมชนรักษาสภาพ 347 ชุมชน และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน
112สำนักอนามัย06-11-2024โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร18. ส่งเสริมการใช้งบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร37604639.44- เดือนตุลาคม 2567 ได้ 254 โครงการ เงิน 37,604,639.44 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 10.85 - สะสม ได้ 254 โครงการ เงิน 37,604,639.44 บาท คำนวณเงินจัดสรร 346,570,290 บาท ได้ร้อยละ 10.85 ข้อมูล google sheet ณ วันที่ 12 มีนาคม 2568