Showing 1-45 of 45 items.
#แบ่งกลุ่ม ESGประเภท ความเสี่ยงNo.ความเสี่ยง (Risk)ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)ความเสี่ยงที่มีความเสี่ยงที่คงเหลือ ผลกระทบภายใน (Internal Impact) ผลกระทบภายนอก (External Impact)โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
 
1G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์13.113.1 ความเหมาะสมสอดคล้องของการกำหนดยุทธศาสตร์กับสภาพปัญหาสภาพการปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
1) การกำหนดเป้าหมายและวิธีการดำเนินงานยังคงยึดถือรูปแบบเป้าหมายหรือวิธีการดำเนินการแบบเดิม และมีลักษณะตายตัวและไม่สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องและไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะที่เรียกว่า“VUCA World”คือมีความผันผวน (Complexity) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) และความกำกวม (Ambiguity)ค่อนข้าสูง

15

6
1. การดำเนินงานพัฒนาเมืองผิดทิศทางและไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจริงรวมทั้งไม่ต้องและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
2. การดำเนินตามยุทธศาสตร์และเป้าหมายการพัฒนาโดยไม่มีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และตลอดเวลาจะส่งผลให้แผนกลยุทธ์นั้นๆไม่ประสบผลสำเร็จได้
1. ประชาชนไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา และไม่ได้รับบริการที่ตรงความต้องการ15ระดับความเสี่ยงสูงมาก6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร
2G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์13.213.2 การแปลงแผนและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ไม่มี
1. โครงการและกิจกรรมซึ่งสนับสนุนการบรรุลเป้าหมายของยุทธศาสตร์ไม่ได้รับงบประมาณดำเนินการ 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาในแต่ละยุทธศาสตร์ไม่ให้ความสำคัญกับการกำหนดโครงการ/กิจกรรมมารองรับและสนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่เข้าใจวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนดของแต่ละยุทธศาสตร์ทำให้การกำหนดโครงการ/กิจกรรมมาบรรจุในแผยไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ไม่มีนัยสนุคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้บรรลุเป้าหมาย

16

9
1. การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ไม่สามารถขับเคลื่อนไปสู่การบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้และไม่สามารถสร้างประโยชน์หรือแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนได้
2. เกิดความสูญเป้าของงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์
1. ประชาชนไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา และบริการตามที่ต้องการ16ระดับความเสี่ยงสูงมาก9ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
3G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์13.313.3 การประเมินการดำเนินงานตามยุทธศาสสตร์ มีความล่าช้าและขาดความครอบคลุม
1. ขาดข้อมูลสำหรับการติดตามประเมินผล 2. การประมินเน้นการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดเป็นหลักทำให้ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินไม่ครบถ้วนและขาดการวิเคราะห์ถึงผลกระทบของการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่เกิดขึ้นกับประชาชนและสังคม 3. การประเมินผลการดำเนินงานและการวิเคราะห์ข้อมุลในการประมินไม่เป็นไปสในแนวทางเดียวกันและขาดมาตรฐาน 4. การดำเนินงานประเมินดำเนินการในรูปของคณะกรรการซึ่งอาจทำให้ให้มีกระบวนการและขึ้นตอนการดำเนินงานเพิ่มขึ้นและมี่ความล่าช้า

12

6
1. ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์และพัฒนายุทธศาสสตร์รวมทั้งการตัดสินใจขาดความครบถ้วน
2. ผลกระทบจากการขับเคลื่อนยุทธศาตร์ที่เกิดกับประชาชนจากการดำเนินงาไม่ได้รับการแก้ไขเนื่องจากขาดข้อมูลสะท้อนกลับ
3 ผลการประเมินมีความล่าช้าไม่ทันกับระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อการกำหนดและพัฒนายุทธศาสตร์ในระยะต่อไป


-12ระดับความเสี่ยงสูงมาก6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
4G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.114.1.1 เกิดสาธารณภัยหรืออัคคีภัย
1) อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าชำรุด 2) ไฟฟ้าลัดวงจร 3) กระแสไฟฟ้าเกิน 4) ไฟกระชากจากสายพ่วงที่ไม่ได้มาตรฐาน ม.อ.ก. 5) แมลงหรือสัตว์กัดแทะคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ หรือสายไฟฟ้า/ สายสัญญาณ 6) ต้นไม้ล้มทับทำให้สายสื่อสารขาด เกิดไฟไหม้สายสื่อสาร 7) ภัยธรรมชาติ ได้แก่ อุทกภัยวาตภัย แผ่นดินไหว 8) วินาศภัย หรือการก่อการร้าย

5

2
1. เกิดความเสียหายของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และข้อมูล
2. เสียงบประมาณในการซ่อมแซมหรือจัดหาทดแทน
3. ไม่สามารถให้บริการระบบได้อย่างต่อเนื่อง
1. ประชาชนไม่ได้รับการริการและการบรรเทาสาธารณภัยอย่างทันท่วงที5ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก :สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
5G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1014.1.10 การถูก Black List โดยอุปกรณ์ป้องกันการบุกรุกเครือข่าย (Firewall) จากหน่วยงาน ต่าง ๆ
1) มีการเก็บข้อมูลหมายเครื่อง(Ip Address) ที่ก่อให้เกิดปัญหาในระบบอินเทอร์เน็ต จากผู้ผลิตอุปกรณ์ป้องกันการบุกรุกเครือข่าย(Firewall) 2) เครื่องลูกข่ายมีการส่งข้อมูล(Packet) ที่ไม่พึงประสงค์ ไปยังระบบอินเทอร์เน็ตอย่างผิดปกติ

2

1
1. หน่วยงานจะไม่สามารถเข้าใช้งานระบบสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
2. จะไม่สามารถให้บริการต่อประชาชนได้
(not set)2ระดับความเสี่ยงต่ำ1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
6G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1114.1.11 เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอต่อการใช้งานและเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีสภาพเก่าชำรุดและเสียบ่อย
1) กรุงเทพมหานครมีทรัพยากรจำกัด จึงอาจจะทำให้บางหน่วยงานไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสำหรับจัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 2) แนวทางหลักเกณฑ์การจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ไม่ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับลักษณะงานในปัจจุบัน 3) หน่วยงานไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานระหว่างการยุบสภาพเครื่องเดิมและจัดหาเครื่องทดแทน 4) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์สำรองสำหรับให้หน่วยงานยืมใช้งานมีจำนวนไม่เพียงพอ

9

1
1. เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติงาน
2. ภาพลักษณ์ขององค์กรไม่ทันสมัย
3. เครื่องคอมพิวเตอร์เดิมใช้งานมาเป็นระยะเวลานานจึงเสื่อมสภาพ เสียบ่อย และไม่รองรับการปฏิบัติงานโปรแกรมสมัยใหม่
4 ไม่สามารถปฏิบัติงานได้
5. ขาดประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
7G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1214.1.12 ประสิทธิภาพเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เหมาะสมกับการใช้งานในปัจจุบัน
1) ระบบปฏิบัติการ (OS)และโปรแกรม (Software)ในปัจจุบันใช้ทรัพยากรมากขึ้นทำให้เครื่องช้า 2) จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณลักษณะไม่เหมาะสมกับการใช้งาน

9

1
1. เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติงาน
2. ไม่สามารถปฏิบัติงานได้
3. เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่รองรับการใช้งานโปรแกรมในปัจจุบัน
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
8G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1314.1.13 ขาดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อสารของกทม. และให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ได้แก่มาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศมาตรฐานเครือข่ายและ การสื่อสารข้อมูลมาตรฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศมาตรฐานวิชาชีพและสมรรถนะหลักด้านIT
1) ผู้บริหารไม่เห็นประโยชน์ของการพัฒนาหรือปฏิบัติงานด้านดังกล่าวให้เป็นมาตรฐานสากลจึงไม่ได้มุ่งเน้นนโยบายด้านดังกล่าว 2) การปฏิบัติเรื่องดังกล่าวของกรุงเทพมหานครยังไม่พร้อมที่จะนำมาตรฐานสากลมาประยุกต์ใช้ 3) มาตรฐานสากลมีรายละเอียดที่จะต้องปฏิบัติจำนวนมาก4) ยังไม่มีผลการบังคับใช้อย่างจริงจังในระดับประเทศ

6

2
1. ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลให้เกิดประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ไม่สามารถบูรณาการฐานข้อมูลของระบบต่าง ๆ มาใช้ให้บริการประชาชน ปฏิบัติงานและสนับสนุนการตัดสินใจบริหารจัดการกรุงเทพมหานคร
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศของแต่ละหน่วยงานแตกต่างกัน
4. ข้อมูลไม่ตรงกัน ไม่เป็นปัจจุบันซ้ำซ้อน และไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้5. ไม่มีแนวทางดำเนินงานที่ชัดเจนที่หน่วยงานสามารถนำไปปฏิบัติได้เนื่องจากระเบียบฯไม่ได้ถูกแก้ไข
(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
9G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1414.1.14 ขาดการผลักดันและขับเคลื่อนแผนพัฒนาด้านเทคโนโลยีไปสู่การปฏิบัติ
1) หน่วยงานไม่ได้รับงบประมาณในการดำเนินการ 2) แผนพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ได้รับการนำไปใช้ในการพิจารณางบประมาณในสภา 3) หน่วยงานไม่ดำเนินกิจกรรม/โครงการที่บรรจุในแผนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและบุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศและบุคลากร

9

9
๑. ทำให้การขับเคลื่อนแผนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ประสบความสำเร็จ
๒. การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนไม่ทันต่อความต้องการของประชาชน
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง9ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
10G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1514.1.15 การขับเคลื่อนนโยบาย แผนงาน และเป้าหมาย ในการพัฒนาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครโดยคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานครไม่เป็นไปตามเป้าหมาย นโยบายผู้บริหาร และแผนต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง ตามที่กำหนด
1) หน่วยงานเสนอโครงการโดยกำหนดวัตถุประสงค์ขอบเขตไม่เป็นไปตามเป้าหมาย นโยบายผู้บริหารและแผนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่กำหนดไว้ 2) หน่วยงานเสนอโครงการไม่เป็นไปตามปฏิทินการเสนอโครงการ 3) หน่วยงานจัดส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาเพิ่มเติมล่าช้าและไม่ครบถ้วน 4) ข้อจำกัดด้านงบประมาณ 5) การดำเนินโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลไม่สามารถดำเนินการตามแผนงานและ/หรือการบูรณาการกับส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด

15

8
1. การขับเคลื่อนด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามนโยบายผว.กทม. และแผนปฏิบัติราชการ กทม. ไม่บรรลุผลสำเร็จ ตามที่กำหนด
2. คณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานครไม่สามารถจัดประชุมได้ตามแผนและส่งผลต่อการประชุมพิจารณาของสำนักงบประมาณฯ
3. ข้อจำกัดด้านงบประมาณทำให้โครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
4. โครงการด้านเทคโนโลยีไม่สามารถดำเนินการตามแผนงานและบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดได้
(not set)15ระดับความเสี่ยงสูงมาก8ระดับความเสี่ยงสูงสยป สดท
11G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1614.1.16 การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ไม่ตอบสนองหรือไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน
1) การสอบถามความต้องการของผู้ใช้งานจำเป็นต้องใช้ระยะเวลาในการดำเนินการนาน 2) ผู้ใช้งานมีความต้องการระบบงานที่หลากหลาย 3) มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบหรือรายละเอียดระบบในระหว่างที่พัฒนาจึงต่างไปจากความต้องการของผู้ใช้งาน 4) เทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 5) การเกิด Bugs หรือ Defectsและการแก้ไข Defect ใหม่ 6) การเกิด Bugs หรือ Defectsส่งผลให้ Defect เดิมที่เคยแก้ไขไปแล้ว กลับมาในระบบอีกครั้ง

16

12
1. ผู้ใช้งานไม่อยากใช้ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมา เพราะไม่ตรงกับความต้องการ
2. การปฏิบัติงานไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น
(not set)16ระดับความเสี่ยงสูงมาก12ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
12G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1714.1.17 ผู้ใช้งานขาดความรู้และทักษะในการใช้งานโปรแกรมระบบงานประยุกต์ ระบบสนับสนุนการทำงาน และทักษะการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น
1) หลักการของโปรแกรมมีความซับซ้อนและเข้าใจยาก 2) ผู้ใช้งานไม่ได้รับการฝึกอบรมศึกษาจากคู่มือเท่านั้น 3) เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมเป็นอุปกรณ์ที่ต้องใช้ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการแก้ไขปัญหา

2

1
1. การปฏิบัติงานและให้บริการมีความล่าช้า ติดขัด
2. เจ้าหน้าที่ดูแล บำรุงรักษาและแก้ไขเครื่องคอมพิวเตอร์และระบบงานคอมพิวเตอร์ต้องปฏิบัติงานมากขึ้น
(not set)2ระดับความเสี่ยงต่ำ1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
13G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1814.1.18 บุคลากรผู้ดูแลระบบและบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงพอต่อการดูแลแก้ไขปัญหาและพัฒนางานให้ครอบคลุมกับความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ข้าราชการที่จบการศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีจำนวนน้อย 2) ขาดความก้าวหน้าในตำแหน่งจึงขอโอนย้ายหรือลาออก 3) อัตรากำลังตามโครงสร้างขององค์กรมีจำนวนน้อยและไม่เหมาะสมกับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น

2

2
1. การปฏิบัติงานและการให้บริการมีความล่าช้าติดขัด
2. เจ้าหน้าที่ที่ทำงานทดแทนไม่สามารถดูแลระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เช่นการดูแลเว็บไซต์และระบบต่างๆของ กทม.
3. ใช้คนไม่ตรงกับงาน ทำให้งานในหน้าที่มีประสิทธิภาพลดลง
4. จ้างบุคลากรในรูปแบบบำรุงรักษา
(not set)2ระดับความเสี่ยงต่ำ2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
14G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.1914.1.19 ผู้มีอำนาจตัดสินใจขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) ความรู้ด้านเทคโนโลยีเป็นความรู้เฉพาะด้านจำเป็นต้องได้รับการเรียนรู้ 2) ผู้บริหารโดยส่วนใหญ่ไม่ได้จบการศึกษาในสาขาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไม่เคยได้รับการฝึกอบรมเรื่องดังกล่าวมาก่อน 3) มีความรู้พื้นฐาน IT จากการอบรม 4) เมื่อมีการฝึกอบรมแล้วไม่มีการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับไปวางแผนหรือแก้ไขปัญหาหน่วยงานอย่างเป็นรูปธรรมได้ชัดเจน

6

4
1. ทำให้เกิดอุปสรรคต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ไม่ได้รับการอนุมัติ หรือต้องแก้ไขรายละเอียดต่าง ๆ ที่ไม่เป็นไปตามหลักการที่ดี ฯลฯ(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง4ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
15G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.214.1.2 อาคารที่สร้างใหม่ไม่รองรับการติดตั้งระบบสารสนเทศ
1) การออกแบบอาคารสำนักงานไม่มีการวางโครงสร้างด้านระบบสารสนเทศ

4

1
๑. อาคารที่สร้างไม่สามารถเข้าใช้งานได้ เนื่องจากไม่รองรับการติดตั้งระบบสารสนเทศ เช่น การเดินสายสัญญาณต่างๆ ที่ต้องมีการเจาะผนังหรือกำแพง เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้(not set)4ระดับความเสี่ยงปานกลาง1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก :สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักการโยธา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
16G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.314.1.3 สายสัญญาณต่างๆ เช่น Fiber Optic ฯลฯ ชำรุดเสียหาย
1) เกิดจากอุบัติเหตุ หรือการก่อสร้าง หรือการติดตั้ง 2) คุณภาพของสายสัญญาณไม่ได้มาตรฐานหรือเสื่อม 3) การบำรุงรักษาไม่ดี 4) เกิดจากเหตุทางธรรมชาติเช่น กระรอก หนู กัดสายสื่อสาร หรือต้นไม้ล้มทับทำให้สายสื่อสารขาด 5) เกิดไฟไหม้สายสื่อสาร

6

2
ไม่สามารถใช้งานระบบเครือข่าย และเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นจะทำให้การตรวจสอบและซ่อมแซมทำได้ล่าช้าเนื่องจากไม่ทราบว่าเป็นของหน่วยงานใด(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักการจราจรและขนส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
17G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.414.1.4 ระบบเครือข่ายหลักขัดข้อง
1) อุปกรณ์ชำรุด 2) สายสัญญาณชำรุดตามสภาพการใช้งานหรือจากอุบัติเหตุ หรือจากภัยธรรมชาติ 3) ระบบไฟฟ้าขัดข้อง

8

2
1. หน่วยงานของกรุงเทพมหานครไม่สามารถเชื่อมต่อใช้งานระบบสารสนเทศ ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน(not set)8ระดับความเสี่ยงสูง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
18G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.514.1.5 ระบบอินเทอร์เน็ตขัดข้อง
1) อุปกรณ์ในระบบมีอายุมากกว่า 5 ปี 2) ผู้ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตประสบปัญหาจากเหตุการณ์ ที่ไม่คาดคิด อาทิ สายไฟเบอร์ขาด

8

1
1. ไม่สามารถใช้งานระบบสารสนเทศต่าง ๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้
2. ประชาชนหรือผู้รับบริการเกิดความไม่พึงพอใจ3. ประชาชนหรือผู้รับบริการไม่สามารถรับบริการจากหน่วยงานได้
(not set)8ระดับความเสี่ยงสูง1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
19G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.614.1.6 ระบบคอมพิวเตอร์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร
1) ระบบไฟฟ้า 2) อุณหภูมิและความชื้นไม่เหมาะสม 3) ระบบบริหารจัดการเครื่องแม่ข่ายขัดข้อง 4) การเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายหลักขัดข้อง

9

2
1. ข้อมูลเสียหาย
2. ระบบปฏิบัติการโปรแกรมหรือฐานข้อมูลเสียหายต้องมีการติดตั้งใหม่
3. เสียงบประมาณในการซ่อมแซมหรือจัดหาทดแทน
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
20G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.714.1.7 ข้อมูลสำคัญและข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล
1) การบุกรุกโจมตีจากภายนอก 2) การติดไวรัสคอมพิวเตอร์หรือMalware 3) ข้อมูลรั่วไหลจากการเปลี่ยนมือผู้ใช้และการซ่อมแซมเครื่องที่เสีย 4) การเข้าถึงระบบสารสนเทศจากผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง 5) ข้อมูลรั่วไหลจากการจำหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์

8

2
1. ข้อมูลสำคัญและข้อมูลส่วนบุคคลสูญหายหรือถูกโจรกรรม
2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์เสียหาย
3. ใช้งานคอมพิวเตอร์ไม่ได้
4. ระบบเครื่องแม่ข่ายหรือลูกข่ายติดไวรัสและแพร่กระจายสู่เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย
5. ถูกแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือรูปภาพบนWebsite
(not set)8ระดับความเสี่ยงสูง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
21G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.814.1.8 ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน ขัดแย้ง และขาดความน่าเชื่อถือ
1) แต่ละหน่วยงานพัฒนาระบบงานของตนเอง และขาดการเชื่อมโยงฐานข้อมูลร่วมกัน 2) ไม่มีหน่วยงานกลางในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล

8

2
1. ข้อมูลที่คลาดเคลื่อน ทำให้การวางแผนและการพัฒนาไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
2. ก่อให้เกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน
3. ขั้นตอนการทำงานซ้ำซ้อน
4. การพัฒนาระบบสารสนเทศไม่คุ้มค่ากับงบประมาณที่เสียไปเนื่องจากไม่สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและไม่สามารถใช้ระบบฯร่วมกันได้
(not set)8ระดับความเสี่ยงสูง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
22G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.1.914.1.9 การใช้ซอฟท์แวร์ที่ไม่ถูกลิขสิทธิ์
1) แผ่นติดตั้งระบบปฏิบัติการลิขสิทธิ์สูญหาย 2) มีการติดตั้งระบบปฏิบัติการเวอร์ชันอื่นแทนระบบปฏิบัติการลิขสิทธิ์เดิมที่มีอยู่ 3) กรณีเปลี่ยนฮาร์ดแวร์ทำให้ระบบปฏิบัติการลิขสิทธิ์แบบ 1 user ไม่สามารถติดตั้งใหม่ได้

9

1
1. การใช้งานอาจไม่ได้ประสิทธิภาพตามความสามารถของซอฟท์แวร์นั้นๆ
2. ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์
3. การติดไวรัสและแพร่กระจายสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เนื่องจากช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
23G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.114.2.1 แผนบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561-2565) ไม่ตอบสนองภารกิจของกรุงเทพมหานคร และมีความล่าช้า
1) การเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กรหรือภารกิจใหม่ที่ได้รับมอบหมายเพิ่มขึ้น อาจทำให้แผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครไม่ทันสมัย ล่าช้าและไม่ตรงกับบริบทในอนาคต 2) กำหนดตัวชี้วัดในแผนฯ จำนวนมาก หลากหลาย และยากต่อการนำไปปฏิบัติ

2

1
1. การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์บริหารทรัพยากรบุคคลฯ อาจไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งไม่สามารถตอบสนองภารกิจของกรุงเทพมหานครได้
2. การเสนอขอจัดสรรงบประมาณในการดำเนินการอาจไม่สอดคล้องกับแผนฯเนื่องจากต้องเสนอขอจัดสรรงบประมาณก่อนแผนฯ จะประกาศใช้
(not set)2ระดับความเสี่ยงต่ำ1ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. - สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร - สถาบันพัฒนาข้าราชการกทม. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนัก สำนักงาน และสำนักงานเขต - สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
24G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.1014.2.10 ปัญหาคุณภาพชีวิตของข้าราชการและลูกจ้างในหน่วยงาน
1) ปริมาณงานที่สะสมเป็นจำนวนมาก 2) ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการให้บริการประชาชนและผลสัมฤทธิ์ของงานมากกว่าคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่ 3) การขาดอัตรากำลัง ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานหนักเกินเวลาการปฏิบัติงานเป็นประจำ

20

9
1. เกิดภาวะความเครียดในการปฏิบัติงาน
2. ชีวิตประจำวันไม่สมดุล เพราะขาดการออกกำลังกาย
3. เกิดโรคภัยไข้เจ็บ
4. เกิดปัญหาครอบครัว
(not set)20ระดับความเสี่ยงสูงมาก9ระดับความเสี่ยงสูงสำนักงาน กก
25G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.214.2.2 มีกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจำนวนมากและกฎหมายหลายฉบับมีความล้าสมัย ไม่เป็นปัจจุบัน
1) การดำเนินงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลจำเป็นต้องมีกฎหมายระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ รองรับ 2) การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวันจำเป็นต้องมีแนวทางที่ชัดเจนเพื่อมิให้เกิดข้อขัดแย้ง 3) การตีความตัวบทกฎหมายของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เข้าใจไม่ตรงกัน

6

2
1. การปฏิบัติงานด้านดังกล่าวมีข้อผิดพลาด ไม่มีความชัดเจนและไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ดี
2. ข้าราชการและบุคลากรบางส่วนต้องสูญเสียประโยชน์จากความผิดพลาดของการปฏิบัติที่สับสน
(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำสกค สกก สนค
26G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.314.2.3 การพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่ไม่เหมาะสม
1) ผู้ปฏิบัติงานด้านการเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานไม่เข้าใจหลักเกณฑ์วิธีการดำเนินงานเกี่ยวกับการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง 2) ผู้ขอรับการประเมินขาดความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ วิธีการเงื่อนไข ฯลฯ 3) กระบวนการพิจารณาล่าช้า

6

2
1. วันที่มีผลในการประเมินหรือแต่งตั้งของผู้ขอรับการประเมิน (Effective Date) มีความล่าช้า
2. ผู้รับการประเมินเสียสิทธิบางประการที่หน่วยงานไม่สามารถย้อนหลังให้ได้ เช่นเงินรางวัลประจำปี ฯลฯ
(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำสกก สกจ
27G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.414.2.4 ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในการพิจารณาคุณสมบัติของผู้สมัครรับการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน
1) การเจ้าหน้าที่ประจำส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานครสำนักและสำนักงานเขตมีความเข้าใจผิดในการพิจารณาคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งของผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับชำนาญงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและการดำรงตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานเกี่ยวข้องและเกื้อกูลกันไม่ได้คัดกรองคุณสมบัติผู้สมัครฯ ก่อนเสนอผู้บังคับบัญชาลงนามเพื่อจัดส่งเอกสารให้สำนักงานการเจ้าหน้าที่ 2) หลักเกณฑ์การรับสมัครไม่ชัดเจน

6

2
1. ผู้สมัครคัดบุคคลไม่ได้รับคำตอบหรือข้อมูลที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
2. เพิ่มภาระการตอบข้อสงสัยให้กับสำนักงาน ก.ก. และ สำนักงานการเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงาน
3. การเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานเขต ขาดความน่าเชื่อถือ ไม่สามารถเป็นที่ปรึกษาให้แก่ข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานครได้
4. เกิดข้อร้องเรียนในประเด็นที่ผู้สมัครคัดเลือกฯ มีข้อสงสัย
5. ทำให้ผู้สมัครฯ เสียสิทธิ์ในการคัดเลือก
6. หลักเกณฑ์ไม่ชัดเจนทำให้ ผู้ปฏิบัติขาดความเข้าใจที่ถูกต้อง
(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำสกก สกจ
28G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.514.2.5 บุคลากรของกรุงเทพมหานครกระทำผิดวินัย
1) เจ้าหน้าที่ไม่ทราบระเบียบ/กฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง 2) การบริหารจัดการไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล 3) บุคลากรขาดคุณธรรมจริยธรรม และจิตสำนึกที่ดี 4) ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม

9

6
1. ราชการได้รับความเสียหายจากการกระทำผิดวินัยของบุคลากร
2. ภาพลักษณ์ขององค์กรขาดความน่าเชื่อถือ
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางสกก สกค
29G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.614.2.6 การตรวจสอบพฤติการณ์ทางวินัย
1) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยจำนวนหลายแห่ง 2) กฎหมายที่ใช้ควบคุมทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครด้านวินัยมีความหลากหลาย 3) ขาดการบริหารจัดการที่เป็นศูนย์รวมข้อมูล 4) การจัดเก็บข้อมูลผู้กระทำความผิดด้านวินัยไม่ครบถ้วน

6

4
1. ได้บุคลากรที่เคยกระทำผิดวินัยเข้ามาปฏิบัติหน้าที่
2. การดำเนินการทางด้านบริหารทรัพยากรบุคคลล่าช้า
3. บุคลากรของกรุงเทพมหานครขาดขวัญและกำลังใจ
(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง4ระดับความเสี่ยงปานกลางสกจ สกก สกค
30G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.714.2.7 บุคลากรของกรุงเทพมหานครไม่ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับสวัสดิการต่าง ๆของกรุงเทพมหานคร
1) สวัสดิการต่าง ๆ มีข้อกำหนดหลักเกณฑ์ และรายละเอียดที่ใช้ดำเนินการจำนวนมาก

9

2
1. บุคลากรของกรุงเทพมหานครไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามที่กำหนด2. มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับสวัสดิการ(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง2ระดับความเสี่ยงต่ำสำนักงานการเจ้าหน้าที่ สนป.
31G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.814.2.8 ความไม่คุ้มค่าในการใช้งบประมาณเพื่อการพัฒนาข้าราชการกทม.และบุคลากรของกรุงเทพมหานคร
1) การจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาข้าราชการฯ ของหน่วยงานยังไม่คำนึงถึงความจำเป็นในการพัฒนาที่ขับเคลื่อนนโยบาย แผนพัฒนาและภารกิจหลักของหน่วยงานได้ระหว่างหน่วยงานและกลุ่มเป้าหมาย 2) การจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาข้าราชการฯ ยังขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างแท้จริง

9

6
1.การพัฒนาข้าราชการฯ อาจได้ผลไม่คุ้มค่ากับงบประมาณ
2. การพัฒนาข้าราชการฯไม่ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครและลักษณะงานที่ปฏิบัติอย่างแท้จริง
3. การพัฒนาข้าราชการฯไม่สัมฤทธิ์ผลอย่างแท้จริงตามยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานคร
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางสถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม.
32G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)14.2.914.2.9 ระบบสารสนเทศ(MIS 2) ด้านบุคลากรไม่มีประสิทธิภาพ
1) การจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากตัวระบบไม่มีประสิทธิภาพ

6

2
1. ข้อมูลบุคลากรในระบบสารสนเทศ (MIS 2) ไม่เป็นปัจจุบัน ใช้ประโยชน์ไม่ได้(not set)6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
33G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.1.115.1.1 ด้านรายได้การจัดเก็บรายได้ต่ำกว่าประมาณการที่ตั้งไว้และไม่เพียงพอต่องบประมาณรายจ่าย
เมื่อพิจารณาทั้งรายได้จากภาษีและไม่ใช่ภาษีที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บเองและรายได้จากภาษีที่ส่วนราชการอื่น จัดเก็บให้ พบว่า มีสาเหตุ ดังนี้ 1) ความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาคและการกำหนดนโยบาย มาตรการทางการเงินการคลังของรัฐบาล

15

12
1. การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การจัดเก็บรายได้ของภาครัฐลดลง ส่งผลกระทบให้กรุงเทพมหานครจัดเก็บและได้รับการจัดสรรรายได้ลดลงตามไปด้วย
1. ประชาชนได้รับบริการและการแก้ไขปัญหาไม่ตรงกับความต้องการ

15ระดับความเสี่ยงสูงมาก12ระดับความเสี่ยงสูงมาก - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี)หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร
34G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.1.215.1.2 ด้านรายได้การจัดเก็บรายได้ต่ำกว่าประมาณการที่ตั้งไว้และไม่เพียงพอต่องบประมาณรายจ่าย
2) ข้อจำกัดทางกฎหมายในการจัดหารายได้เพิ่มเติม อัตราภาษี อัตราค่าบริการต่างๆ ไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน

20

16
- ทำให้รายได้จากที่ กทม. จัดเก็บเองในแต่ละปีมีจำนวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงหรือเพิ่มไม่เกินร้อยละ 10 ต่อปี ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความอ่อนแอทางการคลังของกรุงเทพมหานคร
- ยอดจำหน่ายปริมาณน้ำมันที่สถานีบริการน้ำมันแจ้งมา เพื่อเสียภาษีในแต่ละเดือน ไม่สามารถตรวจสอบการจำหน่ายได้อย่างแท้จริง
-20ระดับความเสี่ยงสูงมาก16ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก - สำนักการคลัง (สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี)
35G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.215.2 ด้านรายจ่ายการเบิกจ่ายของหน่วยงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
1) การจัดเก็บรายได้ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มลดลงไม่สมดุลกับงบประมาณที่ตั้งไว้2.หน่วยงานไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินที่กำหนดไว้3.หน่วยงานภาครัฐมอบนโยบายและหรือถ่ายโอนภารกิจให้กทม.ดำเนินการแต่ขาดการสนับสนุนงบประมาณ

12

6
--12ระดับความเสี่ยงสูงมาก6ระดับความเสี่ยงปานกลางสำนักการคลัง
36G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.315.3 ด้านการก่อหนี้และบริหารหนี้กรุงเทพมหานครอาจจะไม่มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการก่อหนี้เงินกู้สำหรับโครงการขนาดใหญ่การบริหารหนี้เงินกู้ไม่มีประสิทธิผล
1.ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร/หน่วยงานอาจจะไม่ทราบสถานะทางการคลังอย่างต่อเนื่องจึงไม่ได้กำหนดแนวทางที่ชัดเจนและก่อหนี้เงินกู้เกินความสามารถด้านการคลังของและหรืออาจจะไม่สามารถชำระหนี้เงินกู้ตามที่กำหนดในสัญญา 2.การบริหารการกู้เงินมีการกำหนดหลักเกณฑ์ไว้ในกฎหมายหลายฉบับ ซึ่งอาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดได้

12

9
--12ระดับความเสี่ยงสูงมาก9ระดับความเสี่ยงสูง - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี)
37G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.415.4 ด้านการบริหารสภาพคล่องระดับเงินคงคลังไม่เหมาะสมและเพียงพอต่อการบริหารสภาพคล่อง
1) บริหารงานการเงิน โดยขาดการวิเคราะห์ข้อมูลฐานะทางการเงินที่ถูกต้องเหมาะสม

9

4
(not set)(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง4ระดับความเสี่ยงปานกลาง - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี)
38G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.5.115.5.1 การจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม และเข้าข่ายการทุจริต
1) ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดเนื่องจากผู้บังคับบัญชามีภารกิจที่ต้องดำเนินการจำนวนมาก 2. การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่มีเงื่อนไขจำนวนมาก ข้าราชการจึงใช้เป็นข้อต่อรองในการเรียกรับผลประโยชน์จากผู้ค้าหรือผู้รับจ้าง 3. ข้าราชการและผู้รับจ้างมีความสนิทสนม รู้จักกันมานาน และมีผลประโยชน์ร่วมกัน 4. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่ทำหน้าที่จัดซื้อจัดจ้าง 5. กระแสวัตถุนิยมในสังคม 6. ข้าราชการไม่มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง 7. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม 8. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการเพราะมีผลประโยชน์ร่วมกันและมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง 9. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับหรือชี้นำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต 10. องค์กรให้ค่าตอบแทนในอัตราที่ไม่เพียงพอกับการครองชีพ 11. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีหนี้นอกระบบ ฯลฯ 12. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติ เคยชิน และทำตามคนอื่นที่ปฏิบัติมา 13. ที่ผ่านมาไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับโทษอย่างจริงจัง

12

6
1. งานที่เกิดปัญหาอาจได้รับความเสียหาย ไม่มีคุณภาพประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเท่าที่ควร
2. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
4. สิ้นเปลืองงบประมาณเพราะได้ผลสำเร็จไม่เต็มที่
5. ใช้งบประมาณไม่คุ้มค่า
1. ประชาชนได้รับบริการที่ไม่มีคุณภาพเท่าที่ควรจะเป็น
2. การแข่งขันทางด้านราคาไม่สมบูรณ์หรือไม่ยุติธรรมทำให้องค์กรเสียประโยชน์
12ระดับความเสี่ยงสูงมาก6ระดับความเสี่ยงปานกลาง - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง
39G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.5.1015.5.10 การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการอย่างไม่เป็นธรรมไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมและใช้ระบบอุปถัมภ์
1. การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา 2. ความทะเยอทะยานและความต้องการก้าวหน้าในตำแหน่ง 3. ระบบอุปถัมภ์ที่ไม่มีคุณธรรม 4. ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่เปิดโอกาสให้ใช้ดุลยพินิจในการพิจารณา 5. ผู้กระทำผิดวินัยหรือกระทำทุจริตไม่ได้รับการลงโทษอย่างจริงจังและยังได้รับการส่งเสริมความก้าวหน้า

12

6
1. ส่งเสริมให้ข้าราชการที่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอได้ดำรงตำแหน่ง
2. การบริหารงานในตำแหน่งที่มีความสำคัญ อาจได้รับความเสียหาย ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
3. ทำให้มีช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ โดยใช้อำนาจในทางที่มิชอบ
4. ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหาย
5. ข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถขาดโอกาสในการก้าวหน้าในตำแหน่ง
6. เป็นการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี
-12ระดับความเสี่ยงสูงมาก6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง
40G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.5.215.5.2 การเรียกรับผลประโยชน์ เช่น การอนุมัติ อนุญาต การออกเอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ ฯลฯ
1. ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เนื่องจากหัวหน้างานมีภารกิจจำนวนมาก 2. การปฏิบัติงานมีหลายขั้นตอนและให้อำนาจใช้ดุลยพินิจเปิดโอกาสให้ข้าราชการใช้เป็นข้อต่อรองในการเรียกรับผลประโยชน์เพื่อแลกกับความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการ 3. ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานมีแรงกดดันจากปัญหาส่วนตัวด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน หนี้สิน 4. ข้าราชการมีอำนาจเต็มที่ 5. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าว 6. ข้าราชการมีความทะเยอทะยาน 7. กระแสวัตถุนิยมในสังคม 8. ข้าราชการรู้จักสนิทสนมและ 9. ผู้ค้าหรือผู้รับจ้างเสนอผลประโยชน์ให้กับข้าราชการ 10. ข้าราชการใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่มิชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับผู้ค้าหรือผู้รับจ้าง 11. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม บังคับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต 13. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการที่รับผิดชอบ เพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง 14. องค์กรให้ค่าตอบแทนที่ไม่เพียงพอกับการครองชีพ 15. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา 16. ไม่เคยเห็นผู้ที่ทำทุจริตได้รับโทษ

12

6
1. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
2. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
3. องค์กรสูญเสียเงินหรือรายได้บางส่วน
4. งานได้รับความเสียหาย ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
1. ประชาชนได้ต้องเสียค่าใช้จ่ายฃในการรรับบริการโดยไม่จำเป็น
2. ประชาชนได้รับการเหลื่อมล้ำในการขอรับบริการ
12ระดับความเสี่ยงสูงมาก6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: สำนักการคลัง
41G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.5.315.5.3 การยักยอกเงินเช่น การเก็บค่าธรรมเนียมเก็บขนมูลฝอย ภาษีประเภทต่าง ๆ การใช้ใบเสร็จปลอม ฯลฯ
1. รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายประจำ จึงเป็นแรงกดดันให้ทำการ-ทุจริต (เงินเดือนและผลตอบแทนน้อยกว่าค่าครองชีพ) 2. ขาดการควบคุมและติดตามงานจากผู้บังคับบัญชาอย่างใกล้ชิดเนื่องจากไว้วางใจและติดภารกิจอื่น 3. ไม่มีมาตรการควบคุมการ-ดำเนินการที่รัดกุม เปิดโอกาสให้ข้าราชการทำทุจริตได้ เช่น ไม่ควบคุมการเบิกและรักษาใบเสร็จ 4. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าว 5. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม 6. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าวเพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง 7. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต 8. กระแสวัตถุนิยม 9. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีหนี้สิน ฯลฯ 10. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา 11. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง

8

4
1. รายได้ของกรุงเทพมหานครไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือประมาณการ
2. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
4. ต้องสรรหาข้าราชการหรือบุคลากรใหม่
5. สูญเสียงบประมาณในการนำมาพัฒนากรุงเทพมหานคร
6. งานขององค์กรได้รับความเสียหาย ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
1. ประชาชนได้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรรับบริการโดยไม่จำเป็น
2. ประชาชนได้รับการเหลื่อมล้ำในการขอรับบริการ
8ระดับความเสี่ยงสูง4ระดับความเสี่ยงปานกลางสำนักงาน กก
42G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.5.415.5.4 การใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่างไม่เหมาะสมเช่น นำไปใช้ส่วนตัว สำรองห้องพักของโรงพยาบาลให้กับญาติและคนรู้จัก ฯลฯ
1. ผู้มีอำนาจหน้าที่ในการอนุมัติควบคุม ครอบครอง และรักษาทรัพย์สิน ไม่ปฏิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัด 2. ความสนิทสนมส่วนบุคคลระหว่างเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจึงละเว้นหรือไม่ปฏิบัติตามระบบการควบคุมที่กำหนดไว้ 3. ความไว้วางใจ ขาดการติดตามและกำกับดูแลอย่างใกล้ชิด 4. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม 5. ผู้บังคับบัญชาและข้าราชการที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานด้านดังกล่าวร่วมมือกัน เพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง 6. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำทุจริต 7. กระแสวัตถุนิยมในสังคม 8. ได้รับมอบหมายให้ดูแลรับผิดชอบสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูงซึ่งเป็นสิ่งล่อใจ 9. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีภาระหนี้สิน ฯลฯจึงไม่สามารถซื้อทรัพย์สินที่เป็นของตนเองได้ 10. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา 11. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง

12

9
1. ทรัพย์สินของทางราชการชำรุดและเสียหาย
2. สิ้นเปลืองงบประมาณ
3. สูญเสียโอกาสในการใช้งานทรัพย์สิน เพื่อให้เกิดประโยชน์กับราชการ
4. งานขององค์กรได้รับความเสียหาย
5. งานไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
6. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดีหากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
(not set)12ระดับความเสี่ยงสูงมาก9ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก.เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง
43G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านการเงิน15.5.515.5.5 การเบียดบังเวลาราชการ
1. ข้าราชการเห็นประโยชน์ส่วนตนสำคัญกว่าประโยชน์ของทางราชการ 2. ข้าราชการไม่รับผิดชอบงานในอำนาจหน้าที่และไม่มีวินัยในการปฏิบัติงาน 3. ข้าราชการเห็นว่าเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา 4. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง

6

2
1. งานในความรับผิดชอบไม่บรรลุผลสำเร็จ
2. งานไม่มีประสิทธิภาพ
3. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
4. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
5. ประชาชนได้รับบริการที่ไม่มีคุณภาพอย่างที่ควรจะเป็น
-6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก.เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง
44G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านกฎหมาย16.116.1 มีกฎหมายระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานจำนวนมาก และกฎหมายหลายฉบับมีความล้าสมัย ไม่เป็นปัจจุบัน
1) การดำเนินงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลจำเป็นต้องมีกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ รองรับ 2) การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวันจำเป็นต้องมีแนวทางที่ชัดเจนเพื่อมิให้เกิดข้อขัดแย้ง 3) การตีความตัวบทกฎหมายของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เข้าใจไม่ตรงกัน

6

2
1. การปฏิบัติงานด้านดังกล่าวมีข้อผิดพลาด ไม่มีความชัดเจนและไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ดี
2. ข้าราชการและบุคลากรบางส่วนต้องสูญเสียประโยชน์จากความผิดพลาดของการปฏิบัติที่สับสน

1.กฎหมายที่ได้กระทบจากประชาชน ไม่ทันสมัย ไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหา6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักงานกฎหมายและคดี สภากรุงเทพมหานคร
45G (goverment)- ธรรมภิบาลความเสี่ยงด้านกฎหมาย16.216.2 ระเบียบ คำสั่ง กฎหมาย ข้อบังคับ และแนวทางการปฏิบัติไม่ได้ ถูกปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องรองรับ และเอื้ออำนวยต่อการประยุกต์เทคโนโลยีและนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติราชการและการบริการของกรุงเทพมหานคร
1. การเปลี่ยนแปลงสภาพ-แวดล้อมต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว 2. การปรับปรุงกฎหมายและแนวปฏิบัติต่าง ๆ มีขั้นตอนมากและใช้ระยะเวลานาน 3. ไม่มีการศึกษาว่า ระเบียบคำสั่ง กฎหมาย ข้อบังคับ ฯใดบ้าง ที่ไม่สอดคล้องกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

9

9
1. ไม่สามารถจัดหาอุปกรณ์ทดแทนเฉพาะส่วนของอุปกรณ์ที่ชำรุดได้
2. ไม่มีแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจนที่หน่วยงานสามารถนำไปปฏิบัติได้ เนื่องจากระเบียบฯ ไม่ได้ถูกแก้ไข

1. ไม่สามารถเพิ่มช่องทางหรือวิธีการ เพื่อจัดทำโปรแกรมประยุกต์ให้บริการประชาชนได้ทันต่อสถานการณ์เทคโนโลยีและความต้องการของประชาชน
9ระดับความเสี่ยงสูง9ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน