- ประเภทความเสี่ยง :: อุทกภัย 2
- อัคคีภัย 12
- แผ่นดินไหว 1
- ขยะ 2
- น้ำอุปโภคและน้ำเสีย 2
- มลพิษทางอากาศ 1
- ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5
- โรคระบาด 3
- การก่อการร้าย 1
- ความขัดแย้งฯ 1
- การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ 8
- ด้านเศรษฐกิจ 3
- ความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์ 3
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) 29
- ความเสี่ยงด้านการเงิน 15
- ความเสี่ยงด้านกฎหมาย 2
>> ทะเบียนความเสี่ยงของโครงการเชิงยุทธศาสตร์ กทม. ::
Showing 1-20 of 90 items.
# | รหัสโครงการ/กิจกรรม | รหัสตัวชี้วัด/ตัววัดผลหลัก | ความเสี่ยง (Risk) | ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) | ความเสี่ยงที่มี | ความเสี่ยงที่คงเหลือ | GAP | แบ่งกลุ่ม ESG | ผลกระทบภายใน (Internal Impact) | ผลกระทบภายนอก (External Impact) | โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ) | โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ) | หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | (not set) | (not set) | 1.2 น้ำท่วมจากน้ำหลากพื้นที่ด้านบนของกรุงเทพที่มาจากงแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสดิ์ และน้ำบ่าจากทุ่งรอบกรุงเทพมหานคร | 1) ปริมาณน้ำเกินกว่าขีดความสามารถของแนวป้องกันน้ำหลากจะรองรับได้ และมีปริมาณน้ำและค่าระดับน้ำสูงกว่าแนวคันกั้นน้ำของกรุงเทพมหานคร
2) ปัญหาพื้นที่นอกแนวป้องกันของกรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาน้ำท่วม กดดันให้กรุงเทพมหานครเปิดประตูระบายน้ำเข้าท่วมในพื้นที่ชั้นใน
3) การสร้างแนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำและคลอง ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ตลอดแนว รวมทั้งแนวป้องกันเดิมมีสภาพชำรุด | ![]() 9 | ![]() 6 | ![]() 3 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. เกิดปัญหาน้ำท่วมเพิ่มขึ้นทั้งบริเวณจุดที่มีปัญหาน้ำท่วมและระยะเวลาน้ำท่วมขังจะเพิ่มขึ้นใช้เวลาแก้ไขนานขึ้น 2. สูญเสียงบประมาณในการซ่อมแซมถนน สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค และบ้านเรือนของประชาชนบริโภค | 1. ความเสียหายด้านเกษตรกรรม(บริเวณพื้นที่ใกล้ปากแม่น้ำเจ้าพระยา) ด้านอุปโภคบริโภคและด้านเศรษฐกิจ 2. ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและรัฐ 3. ประชาชนไม่มีที่อยู่อาศัยขาดแคลนเครื่องอุปโภคและบริโภค 4. การสัญจรระบบการคมนาคมถูกตัดขาด | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักการระบายน้ำ |
2 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 4) เจ้าหน้าที่ประจำอาคารที่เกิดเหตุไม่มาประสานให้ข้อมูล | ![]() 12 | ![]() 8 | ![]() 4 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | การระงับเหตุล่าช้ามีความเสียหายเพิ่มมากขึ้น | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น 2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
3 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 6) แหล่งน้ำประปามีสิ่งกีดขวาง เช่นจอดรถยนต์ดึงเบรคมือ หรือจอดรถเข็นร้านขายอาหารคร่อมประปาหัวแดง | ![]() 12 | ![]() 8 | ![]() 4 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | การระงับเหตุล่าช้ามีความเสียหายเพิ่มมากขึ้น | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
4 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 1) สภาพปัญหาการจราจรติดขัดโดยเฉพาะในชั่วโมงเร่งด่วน | ![]() 25 | ![]() 16 | ![]() 9 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. เข้าถึงพื้นที่เกิดเหตุล่าช้า อาจทำให้เพลิงไหม้เกิดการติดต่อลุกลามและขยายวงกว้างมากขึ้นทำให้ยากแก่การควบคุมซึ่งอาจสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมาก | 1. การควบคุมไฟล้าช้าอาจสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมาก | 25 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
5 | (not set) | (not set) | 2.4 งบประมาณ สวัสดิการและกำลังคน ไม่เพียงพอกับการปฏิบัติงาน | 1) เจ้าหน้าที่มีงานรับผิดชอบหลายด้าน ทั้งงานรักษาการณ์ เข้าเวรประจำ งานปฏิบัติการงานกู้ภัยงานสาธารณภัย ฯลฯ และบางคนขอย้ายกลับภูมิลำเนาในต่างจังหวัดสวัสดิการที่มีไม่จูงใจเพียงพอที่จะอยู่ปฏิบัติงานกับกรุงเทพมหานครนอกจากนี้ อัตรากำลังของเจ้าหน้าที่ยังไม่สัมพันธ์กับขนาดพื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบการจัดสรรเจ้าหน้าที่มาบรรจุทดแทนมีความล่าช้า มีตำแหน่งว่างนานมาก | ![]() 16 | ![]() 9 | ![]() 7 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. ประสิทธิภาพในการทำงานช้าลง การระงับเหตุล่าช้าความเสียหายเพิ่มมากขึ้น 2. เจ้าหน้าที่ขาดขวัญกำลังใจและมีภารกงานเพิ่มขึ้นเกิดWork Load | (not set) | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
6 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 2) สภาพซอยคับแคบ มีสิ่งกีดขวาง เช่น กันสาด แผงลอย ทำให้รถดับเพลิงเข้าถึงจุดเกิดเหตุไม่ได้นอกจากนี้ ผู้ค้าหาบเร่แผงลอยย้ายจากถนนสายหลักไปขายในซอยมากขึ้น | ![]() 16 | ![]() 6 | ![]() 10 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. เมื่อถึงพื้นที่เกิดเหตุช้าอาจทำให้เพลิงไหม้เกิดการติดต่อลุกลามและขยายวงกว้างขึ้นทำให้ยากแก่การควบคุม | 1. ความล่าช้าในการเข้าที่เกิดเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น 2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
7 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 3) การแจ้งข้อมูลจากผู้ประสบเหตุไม่ชัดเจน ไม่ถูกต้อง และผิดช่องทาง | ![]() 9 | ![]() 2 | ![]() 7 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | ๑. ทำให้จัดเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือในการเข้าระงับเหตุไม่เหมาะสม | 1. ความล่าช้าในการเข้าที่เกิดเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
8 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 5) ขาดการควบคุมในพื้นที่เกิดเหตุ | ![]() 15 | ![]() 10 | ![]() 5 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | ทำให้เข้าถึงพื้นที่เกิดเหตุได้ยากและเป็นอุปสรรคต่อการช่วยเหลือผู้ประสบภัย | 1.โอกาสได้รับการช่วยเหลือของผู้ประสบภัยมีน้อยลง | 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 10 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
9 | (not set) | (not set) | โรคระบาด | 1) ในภาวะน้ำท่วมขังมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดของโรคติดต่อได้ โดยเฉพาะขณะน้ำท่วมและหลังน้ำลด เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง อุจจาระร่วง ฉี่หนู ฯลฯ | ![]() 9 | ![]() 4 | ![]() 5 | S (social)-สังคม | 1. ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบสุขาภิบาลน้ำ อาหารและะชาชนสิ่งแวดล้อมไม่ดี กรุงเทพมหานครต้องวางมาตรการดูแลเพิ่มขึ้น 2. เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทั้งในพื้นที่และในวงกว้างและกรุงเทพมหานครเกินทรัพยากรและศักยภาพในการดูแลของกรุงเทพมหานคร 3. เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ และภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของ กทม. | 1. ประชาชนที่มีการเจ็บป่วยอาจมีอาการรุนแรงเพิ่มขึ้นทำให้เสียชีวิตได้ 2. ประชาชนมีความกังวลและเกิดภาวะเครียด | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักอนามัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการแพทย์ 2. สำนักสิ่งแวดล้อม 3. สำนักงานเขต 4. สำนักการศึกษา 5. สำนักงบประมาณ 6. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 7. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 8. สำนักการคลัง |
10 | (not set) | (not set) | แผ่นดินไหว | กรุงเทพมหานครอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวหรืออาจจะได้รับผลกระทบจากการเกิดแผ่นดินไหว ตามแนวรอยเลื่อนต่างๆของประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ และพื้นที่กรุงเทพฯ เป็นดินอ่อน เมื่อเกิดแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวจะสามารถขยายความรุนแรงอีกประมาณ 2 - 3 เท่าตัว | ![]() 5 | ![]() 4 | ![]() 1 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | หากเกิดแผ่นดินไหว แม้จะอยู่ในระยะไกล ก็สามารถสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินโดยเฉพาะอาคารบ้านเรือนและตึกสูงที่ก่อสร้างมาโดยไม่ได้ออกแบบให้รองรับการเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งอาจพังทลายลงทำให้มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำนวนมาก | 1. ประชาชนได้รับผลกระทบเกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน | 5 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
11 | (not set) | (not set) | มลพิษทางอากาศและเสียงเกินค่ามาตรฐานฝุ่นขนาดเล็ก (PM2.5) เกินค่ามาตรฐาน | 1) ยานพาหนะที่ไม่ได้มาตรฐาน เช่น รถยนต์เรือ ฯลฯ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ อาทิ ควันดำ ฝุ่นขนาดเล็ก PM10, PM2.5
2) การก่อสร้างอาคาร ใช้รถบรรทุกรถขนส่งคนงาน ฯลฯ ทำให้เกิดฝุ่นละออง
3) โรงงานอุตสาหกรรม/สถานประกอบการปล่อยมลพิษทางอากาศ
4) การเกิดเหตุไฟไหม้หญ้าขยะปล่อยมลพิษโดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดเล็ก
5) ฌาปนสถานปล่อยมลพิษทางอากาศ
6) กิจการค้าที่เป็นอันตราย อาทิ กิจการแพลนท์ปูน กิจการพ่นสีรถยนต์ กิจการหลอมโลหะ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ
วัตถุประสงค์ของการจัดการความเสี่ยง
1) เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนพื้นที่ประสบภัยได้อย่างรวดเร็ว
2) เพื่อกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจน | ![]() 20 | ![]() 9 | ![]() 11 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. มลพิษทางอากาศและเสียงในพื้นที่ที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นและไม่จำกัดขอบเขตขอบปัญหาได้อย่างัดเจน ไม่สามารถควบคุมต้นตอปัญหาได้ ทำให้การแก้ไขปัญหาของกรุงเทพมหานครทำได้ยากขึ้นและเกิดข้อร้องเรียนหรือข้อพิพาทจากภาคประชาชนมากขึ้น | 1. การเพิ่มขึ้นของมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐานเป็นระยะเวลานาน จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่นั้นโดยตรงทั้งโรคภัยที่เกิดขึ้น ความสามารถในการทำงานลดลง ระบบเศรษฐกิจที่ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการบำบัดรักษา และสูญเสียความสามารถในการหารายได้ของประชาชนตลอดจนส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวและคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชน | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | หน่วยงานหลัก ๑. สำนักสิ่งแวดล้อม ๒. สำนักป้องกันฯ ๓. สำนักอนามัย ๔. สำนักการโยธา ๕. สำนักเทศกิจ ๖. สำนักงานเขต ๗. สำนักงานประชาสัมพันธ์ |
12 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 7) เส้นทางที่เกิดเหตุเพลิงไหม้เป็นซอยที่มีสายไฟฟ้า สายโทรศัพท์ สายเคเบิลที่มีความสูงหรือต่ำกว่ารถดับเพลิงเป็นอุปสรรคในการ เข้าระงับเหตุ | ![]() 12 | ![]() 9 | ![]() 3 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | รถดับเพลิงเข้าที่เกิดเหตุได้ล่าช้าเนื่องจาก ติดสายไฟ สายโทรศัพท์ | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
13 | (not set) | (not set) | 7.5 เกิดอุบัติเหตุในระบบขนส่งสาธารณะ | 1) ผู้ใช้รถใช้ถนน/ ขนส่งสาธารณะขาดวินัย ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายจราจรกฎหมายอื่น ๆ และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง | ![]() 8 | ![]() 6 | ![]() 2 | S (social)-สังคม | 1. ทรัพย์สินของทางราชการได้รับความเสียหาย 2. กรุงเทพมหานคร/หน่วยงานต้องรับผิดชอบชดใช้ให้คู่กรณี หรือเข้าสู่กระบวนการต่อสู้คดีทางศาล 3. ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในระบบขนส่งมวลชน | 1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต 2. ประชาชนสูญเสียทรัพย์สิน 3. การเดินทางไม่สะดวกจากรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติจราจรทางบกปี 2564 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีจำนวนรถขนส่งสาธารณะที่เกิดอุบัติเหตุ จำนวน 1,551 คัน เฉลี่ยวันละ 4 ถึง 5 คัน สูงเป็น อันดับหนึ่ง ของประเทศ คิดเป็นร้อยละ 31.91 จากอุบัติเหตุในระบบขนส่งสาธารณะทั้งหมด 4,860 คัน | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้ |
14 | (not set) | (not set) | 7.4 เกิดอุบัติเหตุจากโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ | 1) ไม่มีมาตรการและมาตรฐานความปลอดภัยในการก่อสร้างที่ดี ขาดการตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอและจริงจัง | ![]() 5 | ![]() 3 | ![]() 2 | S (social)-สังคม | 1. กรณีเกิดในการก่อสร้างภาครัฐทำให้งานก่อสร้างมีความล่าช้า 2. กรุงเทพมหาครต้องสูญเสียงบประมาณเพิ่มในการการ่อสร้างและการแก้ไขปัญหา | 1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต 2. ทรัพย์สินของประชาชนได้รับความเสียหาย จากรายงานสุขภาพคนไทยปี 2567 พบว่า ในปี 2562 มีการเกิดอุบัติเหตุจากการก่อสร้างทั้งสิ้น 11,599 กรณี คิดเป็นร้อยละ 12 จากอุบัติเหตุทั้งหมด 94,906 กรณี ต่อวัน และมีผู้เสียชีวิตจากการก่อสร้าง 186 คน จากผู้เสียชีวิต 639 คน คิดเป็นร้อยละ 29 | 5 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 3 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้ |
15 | (not set) | (not set) | 1.1 น้ำฝนตกลงมาในปริมาณที่มากเกินอัตราที่ระบบป้องกันน้ำท่วมของ กรุงเทพฯ จะรับได้ (รับได้ที่ประมาณ๖๐ มิลลิเมตรต่อชั่วโมง) | 1) ภาวะโลกร้อน (Global Warming) และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) 2) พื้นที่ลุ่มต่ำ
3) ขยะตกค้างกีดขวางอุดตันทางระบายน้ำและท่อระบายน้ำ
4) การก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง ขวางทางน้ำไหล พื้นที่รองรับน้ำลดลง
5) การก่อสร้างสาธารณูปโภครถไฟฟ้า ท่ออุโมงค์ ท่อประปา ท่อ- เช่นร้อยสายโทรศัพท์ การก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำ และโครงการก่อสร้างอื่นๆ ของรัฐกีดขวางทางน้ำไหล
6) การบริหารจัดการปัญหาน้ำท่วมขังที่ขาดประสิทธิภาพและการบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7) ท่อระบายน้ำเดิมไม่เพียงพอกับการรองรับ
8) ประชาชนส่วนใหญ่ขาดจิตสำนึกของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและความรับผิดชอบต่อสังคม | ![]() 8 | ![]() 6 | ![]() 2 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. เกิดปัญหาน้ำท่วมเพิ่มขึ้นทั้งบริเวณจุดที่มีปัญหาน้ำท่วมและระยะเวลาน้ำท่วมขังจะเพิ่มขึ้น ใช้เวลาแก้ไขนานขึ้น 2. สูญเสียงบประมาณในการซ่อมแซมถนน สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค และบ้านเรือนของประชาชน | 1. สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของรัฐและประชาชน 2. ปัญหาการจราจรติดขัด 3. น้ำท่วมขังสกปรก ส่งผลต่อสุขอนามัยของประชาชน 4. น้ำไม่สามารถไหลลงคลองได้อย่างสะดวก 5. เกิดปัญหาด้านสุขภาพจิตของประชาชน 6. มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจการท่องเที่ยวในภาพรวม | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักการระบายน้ำ |
16 | (not set) | (not set) | โรคระบาด | 2) การเคลื่อนย้ายประชากรสูง เนื่องจากมีช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่สะดวก หลายช่องทางได้แก่ ท่าเรือกรุงเทพฯ (คลองเตย) ท่าอากาศยานดอนเมือง และ
ท่าอากาศยาน อีกทั้ง กรุงเทพฯยังเป็น ศูนย์กลางคมนาคม และการค้าขายเป็นประจำ ซึ่งอาจนำโรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคติดต่อที่อุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่ โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือเมอร์ส โรคที่มาจากสัตว์นำโรค เช่น โรคฉี่หนู กาฬโรคปอด
โรคไวรัส ซิการ์ ฯลฯ เข้ามาระบาดได้ | ![]() 20 | ![]() 9 | ![]() 11 | S (social)-สังคม | 1. ความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของประเทศ 2. ขาดความเชื่อมั่นในการลงทุนทางเศรษฐกิจ 3. สถานที่ เครือข่ายสื่อสารและระบบคอมพิวเตอร์ได้รับความเสียหาย | 1. ประชาชนเกิดความหวาดกลัวได้รับบาดเจ็บ เสียชีวิต และมีผลต่อสุขภาพจิต 2. ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและรัฐได้รับความเสียหาย | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | สปภ |
17 | (not set) | (not set) | 4.1 ปริมาณขยะที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้มีปริมาณสูง และต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการกำจัด | 1. จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการบริโภคและการสร้างขยะ
2. พฤติกรรมและวัฒนธรรส่งผลต่อปัญหาขยะล้นเมือง
3. ระบบกำจัดขยะยังเหมาะสมกับการจัดการขยะแยกประเภท ไม่สามารถเก็บขยะไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของขยะแต่ละประเภทได้
4. มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการรีไขเคิล และการคัดแยกขยะ และการเรียกคืนบรรจุภัณฑ์ของผู้ประกอบการ ยังไม่ชัดเจน
5. ระบบคัดแยกมูลฝอยไม่สัมพันธ์กับระบบการเก็บขน ขนส่ง และเทคโนโลยีการกำจัด
6. ระบบการขัดแยกและนำขยะกลับไปใช้ปะโยชน์ในปัจจุบัน เป็นการคัดแยกตามความสมัครใจ ซึ่งมาตรการของรัฐในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนผู้บริโภคคัดแยกขยะ ไม่เพียงพอ ขาดความต่อเนื่อง | ![]() 20 | ![]() 12 | ![]() 8 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. ปริมาณขยะจำนวน 10,000 ตันต่อวัน จะตกค้างหากระบบการขนส่งขยะหยุดลง และและทำให้การกำจัดขยะมีความยากลำบากและล้าช้ามากขึ้น 2. ภาระค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บและกำจัดขยะค่อนข้างสูง | 1. ขยะจะตกค้างในบ้านเรือนและในรถเก็บขนมูลฝอย ซึ่งจะส่งกลิ่นเหม็น ทัศนอุจาด และเกิดการแพร่กระจายของพาหะนำโรคและและเชื้อโรค ส่งผลต่อสุขภาพกายแลจิตใจของประชาชน 2. ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดผลพิษทั้งทาง น้ำ ดินและอากาศ เนื่องจากขยะส่วนที่ขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นำมกำจัดให้ถูกวิธี จะทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เป็นมลพิษ ปี พ.ศ. 2566 กรงุเทพมหานครมีปริมาณขยะที่ไม่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ 8,808 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 69.09 ของปริมาณขยะทั้งหมด 12,780 ตัน/วัน | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | หน่วยงานหลัก ๑. สำนักสิ่งแวดล้อม๒. สำนักอนามัย๓. สำนักเทศกิจ๔. สำนักงานเขต๕. กรมควบคุมมลพิษ๖. กรมโรงงานอุตสาหกรรม |
18 | (not set) | (not set) | 4.2 สารเคมีและวัตถุอันตรายรั่วไหลหรือเกิดเพลิงไหม้หรือระเบิดระหว่างการใช้ บรรจุ ขนส่งและการเก็บรักษา | 1) ผู้รับผิดชอบไม่ระมัดระวัง หรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างการขนส่ง การใช้บรรจุ และเก็บรักษา นอกจากนี้ยังมีการลักลอบขนถ่ายสารอันตรายและขยะอันตรายในที่สาธารณะหรือในสถานประกอบการ
วัตถุประสงค์ของการจัดการความเสี่ยง 1) เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบต่อสุข | ![]() 12 | ![]() 9 | ![]() 3 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | การรั่วไหลของสารเคมี และวัตถุอันตรายมีความเข้มข้นของสารเคมีและวัตถุอันตรายสูงเกิดเหตุเพลิงไหม้และระเบิด จนเกินศักยภาพในการควบคุมของกรุงเทพมหานคร | 1. กระทบต่อสุขภาพและชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน 2. ส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | หน่วยงานหลัก๑. ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจ กทม.๒. สำนักสิ่งแวดล้อม ๓. สำนักอนามัย ๔. สำนักการโยธา ๕. สำนักงานเขต หน่วยงานสนับสนุน ๑. โรงพยาบาลในสังกัดกทม.๒. ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. ๓. ศปภ.กทม. และศปภ.เขต ๔. สถานีตำรวจ ๕. กรมควบคุมมลพิษ ๖. กรมโรงงานอุตสาห |
19 | (not set) | (not set) | 5.1 แหล่งน้ำดิบสำหรับผลิตน้ำประปาได้รับการปนเปื้อน | 1) ประชาชนลักลอบทิ้งสารเคมีและวัตถุอันตรายใกล้คลองประปาทิ้งของเสีย ขยะ ใกล้แหล่งน้ำต่าง ๆ และถูกชะลงไปในแหล่งน้ำ การเลี้ยงสัตว์ใกล้แหล่งน้ำ โรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้ำเสียที่ไม่ได้รับการบำบัดลงในแหล่งน้ำ เกิดภาวะน้ำท่วมไหลทะลักเข้าไปในคลองประปา รถขนส่งสารเคม | ![]() 8 | ![]() 4 | ![]() 4 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. คุณภาพน้ำและน้ำใต้ดินที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคอาจปนเปื้อนโลหะหนัก กรุงเทพมหานครและมีต้นทุนในการฟื้นฟูแหล่งน้ำ | 1. คุณภาพน้ำและน้ำใต้ดินที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคอาจปนเปื้อนโลหะหนัก ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนนอกจากนั้น ยังส่งผลต่อระบบนิเวศน์ พืช สัตว์ และห่วงโซ่อาหาร | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | - สำนักสิ่งแวดล้อม 1 สำนักการระบายน้ำ 2. สำนักอนามัย 3. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 4. สำนักการโยธา 5. สำนักงานเขต 6. สำนักการแพทย์ 7. สำนักเทศกิจ ๘. สำนักผังเมือง ๙. โรงพยาบาล (กทม.) ๑๐. ศปภ.กทม. และเขต ๑๑. ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. หน่วยงานที่เกี่ |
20 | (not set) | (not set) | ความขัดแย้งทางสังคม | 1. กรุงเทพมหานครเป็นเมืองศูนย์กลางของประเทศ ทั้งด้านการบริหาร เศรษฐกิจการศึกษา คมนาคม ฯลฯ ดังนั้นเมื่อมีปัญหาความขัดแย้งของคนในชาติ ไม่ว่าจะเกิดในพื้นที่ใดของประเทศ ทั้งจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองหรือผลกระทบในการประกอบอาชีพหรือจากการดำเนินนโยบายของรัฐก็มักจะมีกลุ่มที่ได้รับผลกระทบเดินทางเข้ามาเรียกร้องหรือแสดงสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในพื้นที่กทม.เสมอ ทั้งที่ทำเนียบรัฐบาลรัฐสภา องค์กรอิสระ กระทรวง ทบวงกรม รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานทหาร ตำรวจกระจายไปทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในบางครั้งการเข้ามาเรียกร้องหรือแสดงสัญลักษณ์มีพัฒนาการไปถึงขั้นการจัดให้มีการชุมนุมยืดเยื้อ ปัญหาที่พบเช่น ความขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับแรงงานทั้งในประเทศและต่างด้าว การจัดระเบียบผู้ค้าหาบเร่ การขึ้นค่าโดยสารนักเรียนตีกัน บุกรุกที่สาธารณะ ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ ฯลฯ | ![]() 4 | ![]() 2 | ![]() 2 | S (social)-สังคม | 1. ความขัดแย้งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของทุกภาคส่วน 2. การบริหารงานทางการเมืองไม่มีเสถียรภาพ 3. กระทบต่อความเชื่อมั่นระหว่างประเทศ 4. เกิดการแสวงหาอำนาจพวกพ้อง 5. มีการรวมตัวหรือจับกลุ่มเพื่อเรียกร้องสิทธิ์ 6. มีการร้องเรียนหรือร้องทุกข์กับหน่วยงานต่างๆ 7. ความเสียหายต่อระบบสาธารณูปโภค เช่น - ขโมยทรัพย์สิน สายไฟไฟสปอร์ทไลท์ - การทำลายทรัพย์สิน การเจาะถนน เพื่อตั้งสมอบก - การทำลายกล้อง CCTVเพื่อไม่ให้บันทึกภาพ - การเจาะท่อประปา เพื่อต่อ น้ำใช้ 8. สูญเสียงบประมาณแผ่นดินในการแก้ไขปัญหา | 1. การจราจรติดขัด 2. ประชาชนสัญจรไปมาบนทางเท้าไม่สะดวก เนื่องจากการตั้งกีดขวางของ - ร้านค้าขายของที่ระลึก - เวทีผู้ชุมนุมตั้งบนพื้นถนน - รั้วเหล็กผู้ชุมนุมนำมากั้นบริเวณทางเท้า - จอโปรเจ็คเตอร์ - ห้องน้ำ ห้องสุขา - ที่พักชั่วคราว 3. ปัญหาสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุมนุมและบริเวณข้างเคียง ได้แก่ - ขยะมูลฝอย - กลิ่นเหม็น - เสียงดัง - ความสะอาดและสุขอนามัย 4. ไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5. ความไม่สะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวัน 6. ผลกระทบทางด้านจิตใจ 7. แตกความสามัคคีแบ่งเป็นฝักเป็นฝ่ายของคนในชาติ 8. ผลกระทบด้านการศึกษา 9. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจธุรกิจ การค้า การส่งออกการลงทุน การท่องเที่ยว 10. คุณภาพการดำเนินชีวิตตกต่ำ 11. ความขัดแย้งทางศาสนามักจะมีความรุนแรง พร้อมที่จะสละชีวิตเพื่อความเชื่อ อุดมการณ์ 12. เกิดความเหลื่อมล้ำในสังคม"รวยกระจุก จนกระจาย" | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - สำนักงานปกครองและทะเบียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการแพทย์ 2. สำนักอนามัย 3. สำนักการโยธา 4. สำนักสิ่งแวดล้อม 5. สำนักการจราจรและขนส่ง 6. สำนักพัฒนาสังคม 7. สำนักงบประมาณฯ 8. สำนักการค |
