หน้าแรก
แผนบริหารความเสี่ยง กทม.
1.1 ทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร
1.2 แผนการจัดการความเสี่ยง ปี 2568
1.3 ตารางการบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์
1.4 โครงการและการบริหารความเสี่ยง
เข้าสู่ระบบ
หนังสือเวียน/คำสั่ง
2.1 เวียนแจ้งหน่วยงานทำรายงานควบคุมภายใน
2.2 Risk Management Framework BMA
2.3 คำสั่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กทม
2.4 แนวทางการบริหารความเสี่ยง กทม.
2.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Home
ทะเบียนความเสี่ยงของโครงการเชิงยุทธศาสตร์ ของ กทม.
1
หน้าหลัก
รหัสโครงการ/กิจกรรม
รหัสตัวชี้วัด/ตัววัดผลหลัก
สำนักฯ/สำนักงานเขต ที่รับผิดชอบ
** สถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม. สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร
กองงานผู้ตรวจราชการ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
สำนักการคลัง
สำนักการจราจรและขนส่ง
สำนักการระบายน้ำ
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง
สำนักการศึกษา
สำนักการแพทย์
สำนักการโยธา
สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร
สำนักงานกฎหมายและคดี สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักงานการต่างประเทศ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร
สำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักงานปกครองและทะเบียน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักงานประชาสัมพันธ์ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักงานเขตคลองสาน
สำนักงานเขตคลองสามวา
สำนักงานเขตคลองเตย
สำนักงานเขตคันนายาว
สำนักงานเขตจตุจักร
สำนักงานเขตจอมทอง
สำนักงานเขตดอนเมือง
สำนักงานเขตดินแดง
สำนักงานเขตดุสิต
สำนักงานเขตตลิ่งชัน
สำนักงานเขตทวีวัฒนา
สำนักงานเขตทุ่งครุ
สำนักงานเขตธนบุรี
สำนักงานเขตบางกอกน้อย
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่
สำนักงานเขตบางกะปิ
สำนักงานเขตบางขุนเทียน
สำนักงานเขตบางคอแหลม
สำนักงานเขตบางซื่อ
สำนักงานเขตบางนา
สำนักงานเขตบางบอน
สำนักงานเขตบางพลัด
สำนักงานเขตบางรัก
สำนักงานเขตบางเขน
สำนักงานเขตบางแค
สำนักงานเขตบึงกุ่ม
สำนักงานเขตปทุมวัน
สำนักงานเขตประเวศ
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
สำนักงานเขตพญาไท
สำนักงานเขตพระนคร
สำนักงานเขตพระโขนง
สำนักงานเขตภาษีเจริญ
สำนักงานเขตมีนบุรี
สำนักงานเขตยานนาวา
สำนักงานเขตราชเทวี
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
สำนักงานเขตลาดกระบัง
สำนักงานเขตลาดพร้าว
สำนักงานเขตวังทองหลาง
สำนักงานเขตวัฒนา
สำนักงานเขตสวนหลวง
สำนักงานเขตสะพานสูง
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
สำนักงานเขตสาทร
สำนักงานเขตสายไหม
สำนักงานเขตหนองจอก
สำนักงานเขตหนองแขม
สำนักงานเขตหลักสี่
สำนักงานเขตห้วยขวาง
สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
สำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร
สำนักดิจิทัลกรุงเทพมหานคร
สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สำนักพัฒนาสังคม
สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว
สำนักสิ่งแวดล้อม
สำนักอนามัย
สำนักเทศกิจ
×
สำนักการระบายน้ำ
กอง/ส่วนงาน/ฝ่าย ที่รับผิดชอบ
โหลดข้อมูล...
×
โหลดข้อมูล...
ไฟล์เอกสารฯ
0%
Browse …
แบ่งกลุ่ม ESG
กรุณาเลือก...
E (environment)- สิ่งแวดล้อม
S (social)-สังคม
G (goverment)- ธรรมภิบาล
×
E (environment)- สิ่งแวดล้อม
RiskNo.
ประเภท ความเสี่ยง
รหัสประเภท
ความเสี่ยง (Risk)
1.1 น้ำฝนตกลงมาในปริมาณที่มากเกินอัตราที่ระบบป้องกันน้ำท่วมของ กรุงเทพฯ จะรับได้ (รับได้ที่ประมาณ๖๐ มิลลิเมตรต่อชั่วโมง)
ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)
1) ภาวะโลกร้อน (Global Warming) และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) 2) พื้นที่ลุ่มต่ำ 3) ขยะตกค้างกีดขวางอุดตันทางระบายน้ำและท่อระบายน้ำ 4) การก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง ขวางทางน้ำไหล พื้นที่รองรับน้ำลดลง 5) การก่อสร้างสาธารณูปโภครถไฟฟ้า ท่ออุโมงค์ ท่อประปา ท่อ- เช่นร้อยสายโทรศัพท์ การก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำ และโครงการก่อสร้างอื่นๆ ของรัฐกีดขวางทางน้ำไหล 6) การบริหารจัดการปัญหาน้ำท่วมขังที่ขาดประสิทธิภาพและการบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7) ท่อระบายน้ำเดิมไม่เพียงพอกับการรองรับ 8) ประชาชนส่วนใหญ่ขาดจิตสำนึกของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและความรับผิดชอบต่อสังคม
หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Risk Relative)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักผังเมือง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักการระบายน้ำ 4. สำนักงานเขต
ผลกระทบภายใน (Internal Impact)
1. เกิดปัญหาน้ำท่วมเพิ่มขึ้นทั้งบริเวณจุดที่มีปัญหาน้ำท่วมและระยะเวลาน้ำท่วมขังจะเพิ่มขึ้น ใช้เวลาแก้ไขนานขึ้น 2. สูญเสียงบประมาณในการซ่อมแซมถนน สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค และบ้านเรือนของประชาชน
ผลกระทบภายนอก (External Impact)
1. สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของรัฐและประชาชน 2. ปัญหาการจราจรติดขัด 3. น้ำท่วมขังสกปรก ส่งผลต่อสุขอนามัยของประชาชน 4. น้ำไม่สามารถไหลลงคลองได้อย่างสะดวก 5. เกิดปัญหาด้านสุขภาพจิตของประชาชน 6. มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจการท่องเที่ยวในภาพรวม
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)
การควบคุมที่มีอยู่ (Control in Place)
ก่อนเกิดเหตุ 1. พัฒนาระบบระบายน้ำเพื่อเร่งระบายน้ำลงสู่อ่าวไทย เช่น การก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำ 4 แห่งและที่จะสร้างเพิ่มเติมอีก 4 แห่ง 2. พัฒนาระบบแก้มลิงรองรับน้ำป้องกันน้ำท่วม 3. จัดเตรียมทีมฉุกเฉินเพื่อออกดำเนินการแก้ไขปัญหาในช่วงฝนตกหนัก เช่น การยก Stop Log แก้ไขการอุดตันในท่อและบ่อดักน้ำเสีย ตลอดจนการกั้นกระสอบทราย 4. การจัดหาและบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำให้เพียงพอกับพื้นที่ประสบภัยน้ำท่วม รวมทั้งเตรียมความพร้อมรองรับปัญหาน้ำท่วม 5. ระบบเตือนภัยในคลองระบายน้ำสายสำคัญ (ติดตั้งเครื่องวัดอัตราการไหลของน้ำ) 6. ควบคุมร้านประกอบอาหารต่างๆ ให้จัดทำบ่อดักไขมันไม่ให้ลงท่อระบายน้ำ 7. ตรวจสอบการระบายน้ำภายในสถานีสูบน้ำ ขุดลอกรางระบายน้ำ เก็บขยะ กำจัดวัชพืชกั้นกระสอบทราย หุ้มพลาสติกตู้ควบคุมต่างๆบริเวณพื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม 8. ตรวจสอบช่องรับน้ำถนนสายหลัก 9. ตรวจสอบการรุกล้ำที่สาธารณะ และติดตามประเมินผล 10. ประสานหน่วยงานเจ้าของโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภค เพื่อวางแผนระบบระบายน้ำ 11. ติดต่อประสานเจ้าของพื้นที่เอกชนให้โอนพื้นที่เป็นที่สาธารณะ และปิดประกาศ เป็นพื้นที่สาธารณะ เพื่อให้หน่วยงานของรัฐสามารถเข้าไปปรับปรุงบริหารจัดการบริเวณพื้นที่น้ำท่วมขังได้ 12. เจ้าหน้าที่เทศกิจ 50 สำนักงานเขต ตั้งจุดอำนวยการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยในจุดที่มีคนพลุกพล่าน และเข้มงวดมาตรการจับปรับกับผู้ที่ทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำและที่สาธารณะ 13. สำนักงานเขตจัดเก็บขยะ วัชพืชตกค้างในพื้นที่ให้หมด ไม่ให้มีขยะตกค้าง และกำหนดวันจัดเก็บขยะชิ้นใหญ่อย่างทั่วถึง 14. การขุดลอกคลองและเปิดทางน้ำไหลในคลองสายหลักและสายรอง 15. ทำความสะอาดท่อระบายน้ำในบริเวณที่มีดินตะกอนทับถมมาก 16. พ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ พ.ศ.2535 17. พ.ร.บ.สาธารณสุข พ.ศ. 2535 ระหว่างเกิดเหตุ 1. ศูนย์ควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม กทม. แจ้งสถานการณ์ฝนตกและพื้นที่น้ำท่วมเป็นระยะ ๆ 2. เร่งลดระดับน้ำในท่อระบายน้ำโดยการสูบน้ำระบายลงคลอง หลังเกิดเหตุ 1. หน่วยเคลื่อนที่เร็ว (หน่วยเบสท์) รถโมบายล์และทีมช่างเข้าไปอำนวยการจราจรในจุดน้ำท่วมขัง
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงที่เหลือ
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)
การจัดการความเสี่ยง