หน้าแรก
แผนบริหารความเสี่ยง กทม.
1.1 ทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร
1.2 แผนการจัดการความเสี่ยง ปี 2568
1.3 ตารางการบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์
1.4 โครงการและการบริหารความเสี่ยง
เข้าสู่ระบบ
หนังสือเวียน/คำสั่ง
2.1 เวียนแจ้งหน่วยงานทำรายงานควบคุมภายใน
2.2 Risk Management Framework BMA
2.3 คำสั่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กทม
2.4 แนวทางการบริหารความเสี่ยง กทม.
2.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Home
ทะเบียนความเสี่ยง กทม.
14
หน้าหลัก
แบ่งกลุ่ม ESG
กรุณาเลือก...
E (environment)- สิ่งแวดล้อม
S (social)-สังคม
G (goverment)- ธรรมภิบาล
No.
ประเภท ความเสี่ยง
รหัสประเภท
ความเสี่ยง (Risk)
2.3 ยานพาหนะ เครื่องจักร วัสดุ และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานชำรุด และไม่พร้อมใช้งาน
ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)
1) ใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์เหล่านั้นมานานหลายสิบปี ทำให้เสื่อมสภาพ เช่น หม้อลมของรถที่เก็บลมไม่อยู่ ระบบเบรคชำรุด วิทยุสื่อสารเสีย ฯลฯ และเมื่อส่งซ่อมก็ใช้เวลานานหรือซ่อมไม่ได้ เพราะไม่มีอะไหล่
หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Risk Relative)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักงบประมาณฯ 2. สำนักการคลัง(กองโรงงานช่างกล) 3. สำนักการโยธา 4. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายนอก : 1. การประปานครหลวง 2. ศูนย์วิทยุฯ 3. ตำรวจ
ผลกระทบภายใน (Internal Impact)
1. ประสิทธิภาพในการดับเพลิงลดลง 2. เสียค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ (รถยุโรป)ในการดูแลและซ่อมแซม 3. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานขาดขวัญและกำลังใจที่ดีในการปฏิบัติงาน ไม่มีความมั่นใจ 4. เมื่อรถดับเพลิงเกิดอุบัติเหตุอาจจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานถูกสอบวินัย จ
ผลกระทบภายนอก (External Impact)
1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)
การควบคุมที่มีอยู่ (Control in Place)
1. มีการส่งซ่อมและบำรุงรักษารถและเรือดับเพลิงอย่างสม่ำเสมอ แต่ยังไม่เพียงพอ และสภาพไม่ดีขึ้น เพราะใช้งานมานาน 2. โครงการจัดซ่อมบำรุงรักษารถดับเพลิงและอุปกรณ์ โดยบริษัทเอกชน 3. จัดทำแผนการซ่อมบำรุงและรักษาอุปกรณ์อย่างเป็นระบบ ดังนี้3.1 การซ่อมบำรุงเมื่อเกิดเหตุ (Breakdown Maintenance) คือ ซ่อมหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนต่าง ๆ 3.2 การซ่อมบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) คือ การวางแผนล่วงหน้าหรือกำหนดระยะเวลาในการตรวจสอบไว้ล่วงหน้า 3.3 การซ่อมบำรุงเชิงพยากรณ์(Predictive Maintenance) คือ การพัฒนาหรือปรับปรุงการซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดปัญหาให้น้อยลง เน้นการตรวจสอบ3.4 การบำรุงรักษาแบบทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Predictive Maintenance)4. เปลี่ยนอุปกรณ์ที่ชำรุด5. สำรวจความพร้อมของเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ทุกวัน
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงที่เหลือ
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)
การจัดการความเสี่ยง