หน้าแรก
แผนบริหารความเสี่ยง กทม.
1.1 ทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร
1.2 แผนการจัดการความเสี่ยง ปี 2568
1.3 ตารางการบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์
1.4 โครงการและการบริหารความเสี่ยง
เข้าสู่ระบบ
หนังสือเวียน/คำสั่ง
2.1 เวียนแจ้งหน่วยงานทำรายงานควบคุมภายใน
2.2 Risk Management Framework BMA
2.3 คำสั่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กทม
2.4 แนวทางการบริหารความเสี่ยง กทม.
2.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Home
ทะเบียนความเสี่ยง กทม.
51
หน้าหลัก
แบ่งกลุ่ม ESG
กรุณาเลือก...
E (environment)- สิ่งแวดล้อม
S (social)-สังคม
G (goverment)- ธรรมภิบาล
No.
ประเภท ความเสี่ยง
รหัสประเภท
ความเสี่ยง (Risk)
13.1 ความเหมาะสมสอดคล้องของการกำหนดยุทธศาสตร์กับสภาพปัญหาสภาพการปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)
1) การกำหนดเป้าหมายและวิธีการดำเนินงานยังคงยึดถือรูปแบบเป้าหมายหรือวิธีการดำเนินการแบบเดิม และมีลักษณะตายตัวและไม่สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องและไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะที่เรียกว่า“VUCA World”คือมีความผันผวน (Complexity) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) และความกำกวม (Ambiguity)ค่อนข้าสูง
หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Risk Relative)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
ผลกระทบภายใน (Internal Impact)
1. การดำเนินงานพัฒนาเมืองผิดทิศทางและไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจริงรวมทั้งไม่ต้องและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน 2. การดำเนินตามยุทธศาสตร์และเป้าหมายการพัฒนาโดยไม่มีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และตลอดเวลาจะส่งผลให้แผนกลยุทธ์นั้นๆไม่ประสบผลสำเร็จได้
ผลกระทบภายนอก (External Impact)
1. ประชาชนไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา และไม่ได้รับบริการที่ตรงความต้องการ
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)
การควบคุมที่มีอยู่ (Control in Place)
1. การปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2. การกำหนดให้มียุทธศาสตร์หน่วยงานเพื่อให้หน่วยงานให้เป็นช่องทานในการกำหนดยุทธศาตร์และแนวทางการดำเนินงานของตนเองเพื่อรองรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ 3. การกำหนด OKR ซึ่งเน้นการกำหนดเป้าหมายเน้นไปที่ผลลัพธ์และการบรรลุวัตถุประสงค์ซึ่งมีความยืดหยุ่นเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือในกาในการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแทน KPI ซึ่งวัดกระบวนการและมีลักษณะตายตัว 4. คณะอนุกรรมการห้องทดลองเมือง City Lab เป็นหนวยงานในการสร้างแรงขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ รวมทั้งนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์ และนำไปทดลองในพื้นที่นำร่อง
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงที่เหลือ
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)
การจัดการความเสี่ยง
1. การปรับแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2. การกำหนดให้มียุทธศาสตร์หน่วยงานเพื่อให้หน่วยงานให้เป็นช่องทานในการกำหนดยุทธศาตร์และแนวทางการดำเนินงานของตนเองเพื่อรองรับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงได้ 3. การกำหนด OKR ซึ่งเน้นการกำหนดเป้าหมายเน้นไปที่ผลลัพธ์และการบรรลุวัตถุประสงค์ซึ่งมีความยืดหยุ่นเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือในกาในการกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแทน KPI ซึ่งวัดกระบวนการและมีลักษณะตายตัว 4. คณะอนุกรรมการห้องทดลองเมือง City Lab เป็นหนวยงานในการสร้างแรงขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ รวมทั้งนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์ และนำไปทดลองในพื้นที่นำร่อง