Showing 81-90 of 90 items.
#รหัสโครงการ/กิจกรรมรหัสตัวชี้วัด/ตัววัดผลหลักความเสี่ยง (Risk)ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)ความเสี่ยงที่มีความเสี่ยงที่คงเหลือGAPแบ่งกลุ่ม ESG ผลกระทบภายใน (Internal Impact) ผลกระทบภายนอก (External Impact)โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
 
81(not set)(not set)14.1.14 ขาดการผลักดันและขับเคลื่อนแผนพัฒนาด้านเทคโนโลยีไปสู่การปฏิบัติ
1) หน่วยงานไม่ได้รับงบประมาณในการดำเนินการ 2) แผนพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ได้รับการนำไปใช้ในการพิจารณางบประมาณในสภา 3) หน่วยงานไม่ดำเนินกิจกรรม/โครงการที่บรรจุในแผนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและบุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศและบุคลากร

9

9

0
G (goverment)- ธรรมภิบาล๑. ทำให้การขับเคลื่อนแผนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ประสบความสำเร็จ
๒. การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนไม่ทันต่อความต้องการของประชาชน
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง9ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
82(not set)(not set)14.1.8 ข้อมูลมีความซ้ำซ้อน ขัดแย้ง และขาดความน่าเชื่อถือ
1) แต่ละหน่วยงานพัฒนาระบบงานของตนเอง และขาดการเชื่อมโยงฐานข้อมูลร่วมกัน 2) ไม่มีหน่วยงานกลางในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล

8

2

6
G (goverment)- ธรรมภิบาล1. ข้อมูลที่คลาดเคลื่อน ทำให้การวางแผนและการพัฒนาไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
2. ก่อให้เกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน
3. ขั้นตอนการทำงานซ้ำซ้อน
4. การพัฒนาระบบสารสนเทศไม่คุ้มค่ากับงบประมาณที่เสียไปเนื่องจากไม่สามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและไม่สามารถใช้ระบบฯร่วมกันได้
(not set)8ระดับความเสี่ยงสูง2ระดับความเสี่ยงต่ำเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน
83(not set)(not set)2.3 ยานพาหนะ เครื่องจักร วัสดุ และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานชำรุด และไม่พร้อมใช้งาน
1) ใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์เหล่านั้นมานานหลายสิบปี ทำให้เสื่อมสภาพ เช่น หม้อลมของรถที่เก็บลมไม่อยู่ ระบบเบรคชำรุด วิทยุสื่อสารเสีย ฯลฯ และเมื่อส่งซ่อมก็ใช้เวลานานหรือซ่อมไม่ได้ เพราะไม่มีอะไหล่

15

9

6
E (environment)- สิ่งแวดล้อม1. ประสิทธิภาพในการดับเพลิงลดลง 2. เสียค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ (รถยุโรป)ในการดูแลและซ่อมแซม 3. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานขาดขวัญและกำลังใจที่ดีในการปฏิบัติงาน ไม่มีความมั่นใจ 4. เมื่อรถดับเพลิงเกิดอุบัติเหตุอาจจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานถูกสอบวินัย จ1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น15ระดับความเสี่ยงสูงมาก9ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
84(not set)(not set)2.2 มีผู้ลอบวางเพลิงในที่สาธารณะหรือที่ส่วนตัว และที่รกร้างว่างเปล่า เช่น เผาหญ้าขยะ
1) ประชาชนไม่คำนึงถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกระทำดังกล่าว

10

5

5
E (environment)- สิ่งแวดล้อม1. บุคลากรของกรุงเทพมหานครเสี่ยงอันตราเพิ่มขึ้น และมีภาระหน้าที่เพิ่มขึ้น1. ลุกลามติดอาคารบ้านเรือนของประชาชน2. ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเช่น ควันพิษ เขม่า โลกร้อน ฯลฯ(มลพิษทางอากาศ)10ระดับความเสี่ยงสูง5ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
85(not set)(not set)11.7 อัตราการเกิดลดลง
1) การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและค่านิยมทางสังคม อาทิเช่น ผู้หญิงที่ทำงานมีจำนวนและอัตราที่สูงขึ้น การแต่งงานช้าลงทำให้ค่าเฉลี่ยคู่สมรสมีอายุสูงขึ้น ครอบครัวมีบุตรคนแรกช้ากว่าในอดีต แนวโน้มของการเป็นโสดที่เพิ่มมากขึ้น การให้คุณค่ากับความสำเร็จของชีวิตมากกว่าการมี 2) นโยบายหรือมาตรการจูงใจในการมีบุตรไม่ชัดเจนบุตร

20

12

8
S (social)-สังคม1. ประชากรลดลง การลงทุนในบริการสาธารณะหรือโครงสร้างพื้นฐานจะเป็นการขาดผู้ใช้งาน
2. ขาดแรงงานในภาคธุรกิจและเกษตรกรรม

1. ครอบครัวเดี่ยวจะมากขึ้น รวมถึงช่องว่างระหว่างวัยมากขึ้น เนื่องจากการมีบุตรช้าลง
2. รูปแบบสังคมเปลี่ยนไป คนจะมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยลง และเน้นการรวมกลุ่มในโลกดิจิทัลมากขึ้น
20ระดับความเสี่ยงสูงมาก12ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก : 1. สำนักอนามัย 2. สำนักการแพทย์ 3. สำนักพัฒนาสังคม
86(not set)(not set)14.2.8 ความไม่คุ้มค่าในการใช้งบประมาณเพื่อการพัฒนาข้าราชการกทม.และบุคลากรของกรุงเทพมหานคร
1) การจัดทำโครงการเพื่อพัฒนาข้าราชการฯ ของหน่วยงานยังไม่คำนึงถึงความจำเป็นในการพัฒนาที่ขับเคลื่อนนโยบาย แผนพัฒนาและภารกิจหลักของหน่วยงานได้ระหว่างหน่วยงานและกลุ่มเป้าหมาย 2) การจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาข้าราชการฯ ยังขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างแท้จริง

9

6

3
G (goverment)- ธรรมภิบาล1.การพัฒนาข้าราชการฯ อาจได้ผลไม่คุ้มค่ากับงบประมาณ
2. การพัฒนาข้าราชการฯไม่ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานครและลักษณะงานที่ปฏิบัติอย่างแท้จริง
3. การพัฒนาข้าราชการฯไม่สัมฤทธิ์ผลอย่างแท้จริงตามยุทธศาสตร์การพัฒนากรุงเทพมหานคร
(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางสถาบันพัฒนาข้าราชการ กทม.
87(not set)(not set)7.1 เกิดอาชญากรรม
สถานที่เปลี่ยว ลับตาคน มืดสลัวไม่มีแสงสว่างเพียงพอ ไม่ค่อยมีผู้คนสัญจรไปมา ที่รกร้าง อาคารร้าง หน้าสถานศึกษา สถานบันเทิงป้ายรถประจำทาง ห้างสรรพสินค้า สวนสาธารณะ

5

4

1
S (social)-สังคม1. กรุงเทพมหานครและภาครัฐไม่สามารสร้างควรปลอดภัยให้กับประชาชนและไม่สามารถและไม่ได้รับความเชื่อมมั่นจากประชาชน
2. กรุงเทพมหานคร และภาครัฐสูญเสียทรัพยากร และมีภาระงานในการแก้ไขปัญหาเพิ่มขึ้น
3. เกิดผลกระทบกับประเทศเศรษฐกิจ สูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยว ปัญหาสังคม และการเมือง
1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บเสียชีวิต หวาดกลัว รู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินไม่เชื่อมั่นในระบบรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
สถิติการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2565 ความผิดต่อชีวิตร่างกาย 2,363 กรณีควาผิดต่อทรัพย์ 8,047 กรณี
รวม 10,410 กรณี คิดเป็นร้อยละ 15.74 ของประเทศที่ 66,125 กรณี
5ระดับความเสี่ยงปานกลาง4ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้
88(not set)(not set)5.2 การปนเปื้อนในดินและแหล่งน้ำบริเวณผิวดิน ทำให้เกิดปัญหาน้ำเสียในแหล่งน้ำและน้ำใต้ดิน
1) ประชาชนลักลอบทิ้งสารเคมีและวัตถุอันตราย ขยะมูลฝอย กากไขมันขยะติดเชื้อ และสิ่งปฏิกูลใกล้กับแหล่งน้ำ สารเคมีในการเกษตร การเผาขยะ น้ำเสียจากโรงงาน ไหลลงสู่แหล่งน้ำและน้ำใต้ดินโดยไม่ผ่านการบำบัดซึ่งเป็นเพราะประชาชนขาดความเข้าใจ ขาดจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อส

6

2

4
E (environment)- สิ่งแวดล้อม1. คุณภาพน้ำและน้ำใต้ดินที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคอาจปนเปื้อนโลหะหนัก กรุงเทพมหานครต้องใช้ทรัพยากร ในการบำบัดและมีต้นทุนในการฟื้นฟูแหล่งน้ำ1. ผลที่เกิดจากความเสี่ยงจะส่งผลต่อคุณภาพน้ำที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคที่อาจปนเปื้อนโลหะหนักส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยตรงนอกจากนั้น ยังส่งผลต่อระบบนิเวศน์ พืช สัตว์ และห่วงโซ่อาหาร และส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรอบแหล่งน้ำ6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำหน่วยงานหลัก ๑. สำนักสิ่งแวดล้อม ๒. สำนักป้องกันฯ ๓. สำนักอนามัย ๔. สำนักงานโยธา ๕. สำนักการระบายน้ำ ๖. สำนักงานเขต หน่วยงานสนับสนุน ๑. โรงพยาบาลสังกัด กทม. ๒. ศูนย์บริการสาธารณสุข ๓. ศปภ.กทม. และเขต ๔. สถานีตำรวจ ๕. กรมควบคุ
89(not set)(not set)15.1.2 ด้านรายได้การจัดเก็บรายได้ต่ำกว่าประมาณการที่ตั้งไว้และไม่เพียงพอต่องบประมาณรายจ่าย
2) ข้อจำกัดทางกฎหมายในการจัดหารายได้เพิ่มเติม อัตราภาษี อัตราค่าบริการต่างๆ ไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน

20

16

4
G (goverment)- ธรรมภิบาล - ทำให้รายได้จากที่ กทม. จัดเก็บเองในแต่ละปีมีจำนวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงหรือเพิ่มไม่เกินร้อยละ 10 ต่อปี ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความอ่อนแอทางการคลังของกรุงเทพมหานคร
- ยอดจำหน่ายปริมาณน้ำมันที่สถานีบริการน้ำมันแจ้งมา เพื่อเสียภาษีในแต่ละเดือน ไม่สามารถตรวจสอบการจำหน่ายได้อย่างแท้จริง
-20ระดับความเสี่ยงสูงมาก16ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก - สำนักการคลัง (สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี)
90(not set)(not set)13.2 การแปลงแผนและยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ไม่มี
1. โครงการและกิจกรรมซึ่งสนับสนุนการบรรุลเป้าหมายของยุทธศาสตร์ไม่ได้รับงบประมาณดำเนินการ 2. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาในแต่ละยุทธศาสตร์ไม่ให้ความสำคัญกับการกำหนดโครงการ/กิจกรรมมารองรับและสนับสนุนการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่เข้าใจวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนดของแต่ละยุทธศาสตร์ทำให้การกำหนดโครงการ/กิจกรรมมาบรรจุในแผยไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ไม่มีนัยสนุคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้บรรลุเป้าหมาย

16

9

7
G (goverment)- ธรรมภิบาล1. การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ไม่สามารถขับเคลื่อนไปสู่การบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้และไม่สามารถสร้างประโยชน์หรือแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนได้
2. เกิดความสูญเป้าของงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์
1. ประชาชนไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา และบริการตามที่ต้องการ16ระดับความเสี่ยงสูงมาก9ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล