- ประเภทความเสี่ยง :: อุทกภัย 2
- อัคคีภัย 12
- แผ่นดินไหว 1
- ขยะ 2
- น้ำอุปโภคและน้ำเสีย 2
- มลพิษทางอากาศ 1
- ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5
- โรคระบาด 3
- การก่อการร้าย 1
- ความขัดแย้งฯ 1
- การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ 8
- ด้านเศรษฐกิจ 3
- ความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์ 3
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) 29
- ความเสี่ยงด้านการเงิน 15
- ความเสี่ยงด้านกฎหมาย 2
>> ทะเบียนความเสี่ยงของโครงการเชิงยุทธศาสตร์ กทม. ::
Showing 41-60 of 90 items.
# | รหัสโครงการ/กิจกรรม | รหัสตัวชี้วัด/ตัววัดผลหลัก | ความเสี่ยง (Risk) | ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) | ความเสี่ยงที่มี | ความเสี่ยงที่คงเหลือ | GAP | แบ่งกลุ่ม ESG | ผลกระทบภายใน (Internal Impact) | ผลกระทบภายนอก (External Impact) | โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ) | โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ) | หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
41 | (not set) | (not set) | 14.1.5 ระบบอินเทอร์เน็ตขัดข้อง | 1) อุปกรณ์ในระบบมีอายุมากกว่า 5 ปี
2) ผู้ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตประสบปัญหาจากเหตุการณ์ ที่ไม่คาดคิด อาทิ สายไฟเบอร์ขาด | ![]() 8 | ![]() 1 | ![]() 7 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ไม่สามารถใช้งานระบบสารสนเทศต่าง ๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตได้ 2. ประชาชนหรือผู้รับบริการเกิดความไม่พึงพอใจ3. ประชาชนหรือผู้รับบริการไม่สามารถรับบริการจากหน่วยงานได้ | (not set) | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
42 | (not set) | (not set) | 14.1.6 ระบบคอมพิวเตอร์ศูนย์ข้อมูลกรุงเทพมหานคร | 1) ระบบไฟฟ้า
2) อุณหภูมิและความชื้นไม่เหมาะสม
3) ระบบบริหารจัดการเครื่องแม่ข่ายขัดข้อง
4) การเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายหลักขัดข้อง | ![]() 9 | ![]() 2 | ![]() 7 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ข้อมูลเสียหาย 2. ระบบปฏิบัติการโปรแกรมหรือฐานข้อมูลเสียหายต้องมีการติดตั้งใหม่ 3. เสียงบประมาณในการซ่อมแซมหรือจัดหาทดแทน | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
43 | (not set) | (not set) | 14.1.3 สายสัญญาณต่างๆ เช่น Fiber Optic ฯลฯ ชำรุดเสียหาย | 1) เกิดจากอุบัติเหตุ หรือการก่อสร้าง หรือการติดตั้ง
2) คุณภาพของสายสัญญาณไม่ได้มาตรฐานหรือเสื่อม
3) การบำรุงรักษาไม่ดี
4) เกิดจากเหตุทางธรรมชาติเช่น กระรอก หนู กัดสายสื่อสาร หรือต้นไม้ล้มทับทำให้สายสื่อสารขาด
5) เกิดไฟไหม้สายสื่อสาร | ![]() 6 | ![]() 2 | ![]() 4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ไม่สามารถใช้งานระบบเครือข่าย และเมื่อเกิดความเสียหายขึ้นจะทำให้การตรวจสอบและซ่อมแซมทำได้ล่าช้าเนื่องจากไม่ทราบว่าเป็นของหน่วยงานใด | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักการจราจรและขนส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
44 | (not set) | (not set) | 14.1.4 ระบบเครือข่ายหลักขัดข้อง | 1) อุปกรณ์ชำรุด
2) สายสัญญาณชำรุดตามสภาพการใช้งานหรือจากอุบัติเหตุ หรือจากภัยธรรมชาติ
3) ระบบไฟฟ้าขัดข้อง | ![]() 8 | ![]() 2 | ![]() 6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. หน่วยงานของกรุงเทพมหานครไม่สามารถเชื่อมต่อใช้งานระบบสารสนเทศ ในการปฏิบัติงานและบริการประชาชน | (not set) | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
45 | (not set) | (not set) | 11.1 ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น | 1) จากการสำรวจล่าสุดพบว่า ประเทศไทยมีสัดส่วนของประชาชนวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นเกือบครึ่งหนึ่งของประชากรวัยเด็ก นอกจากนี้ยังพบว่า อัตราส่วนเกื้อหนุนผู้สูงอายุมีแนวโน้มลดลง และมีผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่คนเดียวตามลำพังโดยปราศจากคู่ชีวิตที่จะช่วยเหลือและปรึกษากันในบั้นปลายชีวิตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุหญิงซึ่งการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วส่งผลให้การพึ่งพาทางเศรษฐกิจและการเกื้อหนุนทางสังคมระหว่างประชากรวัยต่าง ๆ เปลี่ยนไป ศักยภาพของวัยแรงงาน ในการสนับสนุนผู้สูงอายุลดลง ในส่วนของผู้สูงวัยก็มีอายุยืนยาวขึ้น ต้องเผชิญกับภาวะการเจ็บป่วยและการช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง
ปัจจุบัน กรุงเทพมหานครมีผู้สูงอายุจำนวนประมาณ 767,516 คน ที่จะต้องดูแลและจัดสวัสดิการ
หมายเหตุจำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 1.2 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2503 เป็น 8.5 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 (เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.6 เป็นร้อยละ 13.2) ในขณะที่มีหน่วยงานหรือองค์กรที่รองรับผู้สูงอายุไม่เพียงพอ นอกจากนี้ กฎหรือระเบียบต่าง ๆ ยังทำให้ผู้สูงอายุหลายรายไม่สามารถเข้ารับบริการจากองค์กรของรัฐและเอกชนได้ | ![]() 16 | ![]() 12 | ![]() 4 | S (social)-สังคม | 1. จำนวนแรงงานในวัยแรงงานลดลงทำให้กรุงเทพมหานครและหน่วยงานภาครัฐขาดกำลังคนในการเข้ามาทำงานร่วมกับกรุงเทพมหาคร 2. การจัดเก็บภาษีได้ลงลงรายได้และงบประมาณของกรุงเทพมหานครลดลง 3. กรุงเทพมหานครต้องใช้งบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น | 1. ผู้สูงอายุขาดคุณภาพชีวิตที่ดี 2. ผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลอย่างเสมอภาคและทั่วถึง 3. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ 4. ผู้สูงอายุขาดที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม 5. ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะทุพพลภาพ หรือภาวะพึ่งพาสูงเพิ่มขึ้น 6. ผู้สูงอายุขาดการดูแลเอาใจใส่จากสมาชิกในครอบครัว 7. รายได้ครัวเรือนไม่เพียงพอ | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก : 1. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล2. สำนักพัฒนาสังคม3. สำนักอนามัย4. สำนักการแพทย์5. สำนักการศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก :1. กระทรวงแรงงาน 2. กระทรวงเกษตรฯ3. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 4. กระทรวงม |
46 | (not set) | (not set) | 14.2.3 การพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่ไม่เหมาะสม | 1) ผู้ปฏิบัติงานด้านการเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานไม่เข้าใจหลักเกณฑ์วิธีการดำเนินงานเกี่ยวกับการประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
2) ผู้ขอรับการประเมินขาดความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ วิธีการเงื่อนไข ฯลฯ
3) กระบวนการพิจารณาล่าช้า | ![]() 6 | ![]() 2 | ![]() 4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. วันที่มีผลในการประเมินหรือแต่งตั้งของผู้ขอรับการประเมิน (Effective Date) มีความล่าช้า 2. ผู้รับการประเมินเสียสิทธิบางประการที่หน่วยงานไม่สามารถย้อนหลังให้ได้ เช่นเงินรางวัลประจำปี ฯลฯ | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | สกก สกจ |
47 | (not set) | (not set) | 14.2.5 บุคลากรของกรุงเทพมหานครกระทำผิดวินัย | 1) เจ้าหน้าที่ไม่ทราบระเบียบ/กฎหมายที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
2) การบริหารจัดการไม่เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล
3) บุคลากรขาดคุณธรรมจริยธรรม และจิตสำนึกที่ดี
4) ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม | ![]() 9 | ![]() 6 | ![]() 3 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ราชการได้รับความเสียหายจากการกระทำผิดวินัยของบุคลากร 2. ภาพลักษณ์ขององค์กรขาดความน่าเชื่อถือ | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สกก สกค |
48 | (not set) | (not set) | 14.2.6 การตรวจสอบพฤติการณ์ทางวินัย | 1) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยจำนวนหลายแห่ง
2) กฎหมายที่ใช้ควบคุมทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครด้านวินัยมีความหลากหลาย
3) ขาดการบริหารจัดการที่เป็นศูนย์รวมข้อมูล
4) การจัดเก็บข้อมูลผู้กระทำความผิดด้านวินัยไม่ครบถ้วน | ![]() 6 | ![]() 4 | ![]() 2 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ได้บุคลากรที่เคยกระทำผิดวินัยเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ 2. การดำเนินการทางด้านบริหารทรัพยากรบุคคลล่าช้า 3. บุคลากรของกรุงเทพมหานครขาดขวัญและกำลังใจ | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สกจ สกก สกค |
49 | (not set) | (not set) | 14.2.7 บุคลากรของกรุงเทพมหานครไม่ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับสวัสดิการต่าง ๆของกรุงเทพมหานคร | 1) สวัสดิการต่าง ๆ มีข้อกำหนดหลักเกณฑ์ และรายละเอียดที่ใช้ดำเนินการจำนวนมาก | ![]() 9 | ![]() 2 | ![]() 7 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. บุคลากรของกรุงเทพมหานครไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ตามที่กำหนด2. มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับสวัสดิการ | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สนป. |
50 | (not set) | (not set) | 14.2.9 ระบบสารสนเทศ(MIS 2) ด้านบุคลากรไม่มีประสิทธิภาพ | 1) การจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากตัวระบบไม่มีประสิทธิภาพ | ![]() 6 | ![]() 2 | ![]() 4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ข้อมูลบุคลากรในระบบสารสนเทศ (MIS 2) ไม่เป็นปัจจุบัน ใช้ประโยชน์ไม่ได้ | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล |
51 | (not set) | (not set) | 14.1.1 เกิดสาธารณภัยหรืออัคคีภัย | 1) อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าชำรุด
2) ไฟฟ้าลัดวงจร
3) กระแสไฟฟ้าเกิน
4) ไฟกระชากจากสายพ่วงที่ไม่ได้มาตรฐาน ม.อ.ก.
5) แมลงหรือสัตว์กัดแทะคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ หรือสายไฟฟ้า/ สายสัญญาณ
6) ต้นไม้ล้มทับทำให้สายสื่อสารขาด เกิดไฟไหม้สายสื่อสาร
7) ภัยธรรมชาติ ได้แก่ อุทกภัยวาตภัย แผ่นดินไหว
8) วินาศภัย หรือการก่อการร้าย | ![]() 5 | ![]() 2 | ![]() 3 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. เกิดความเสียหายของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และข้อมูล 2. เสียงบประมาณในการซ่อมแซมหรือจัดหาทดแทน 3. ไม่สามารถให้บริการระบบได้อย่างต่อเนื่อง | 1. ประชาชนไม่ได้รับการริการและการบรรเทาสาธารณภัยอย่างทันท่วงที | 5 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก :สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
52 | (not set) | (not set) | 14.1.2 อาคารที่สร้างใหม่ไม่รองรับการติดตั้งระบบสารสนเทศ | 1) การออกแบบอาคารสำนักงานไม่มีการวางโครงสร้างด้านระบบสารสนเทศ | ![]() 4 | ![]() 1 | ![]() 3 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ๑. อาคารที่สร้างไม่สามารถเข้าใช้งานได้ เนื่องจากไม่รองรับการติดตั้งระบบสารสนเทศ เช่น การเดินสายสัญญาณต่างๆ ที่ต้องมีการเจาะผนังหรือกำแพง เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ | (not set) | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก :สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักการโยธา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
53 | (not set) | (not set) | 14.1.18 บุคลากรผู้ดูแลระบบและบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศไม่เพียงพอต่อการดูแลแก้ไขปัญหาและพัฒนางานให้ครอบคลุมกับความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 1) ข้าราชการที่จบการศึกษาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีจำนวนน้อย
2) ขาดความก้าวหน้าในตำแหน่งจึงขอโอนย้ายหรือลาออก
3) อัตรากำลังตามโครงสร้างขององค์กรมีจำนวนน้อยและไม่เหมาะสมกับปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น | ![]() 2 | ![]() 2 | ![]() 0 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การปฏิบัติงานและการให้บริการมีความล่าช้าติดขัด 2. เจ้าหน้าที่ที่ทำงานทดแทนไม่สามารถดูแลระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เช่นการดูแลเว็บไซต์และระบบต่างๆของ กทม. 3. ใช้คนไม่ตรงกับงาน ทำให้งานในหน้าที่มีประสิทธิภาพลดลง 4. จ้างบุคลากรในรูปแบบบำรุงรักษา | (not set) | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
54 | (not set) | (not set) | 14.1.19 ผู้มีอำนาจตัดสินใจขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ | 1) ความรู้ด้านเทคโนโลยีเป็นความรู้เฉพาะด้านจำเป็นต้องได้รับการเรียนรู้
2) ผู้บริหารโดยส่วนใหญ่ไม่ได้จบการศึกษาในสาขาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไม่เคยได้รับการฝึกอบรมเรื่องดังกล่าวมาก่อน
3) มีความรู้พื้นฐาน IT จากการอบรม
4) เมื่อมีการฝึกอบรมแล้วไม่มีการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับไปวางแผนหรือแก้ไขปัญหาหน่วยงานอย่างเป็นรูปธรรมได้ชัดเจน | ![]() 6 | ![]() 4 | ![]() 2 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ทำให้เกิดอุปสรรคต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น ไม่ได้รับการอนุมัติ หรือต้องแก้ไขรายละเอียดต่าง ๆ ที่ไม่เป็นไปตามหลักการที่ดี ฯลฯ | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
55 | (not set) | (not set) | 16.1 มีกฎหมายระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานจำนวนมาก และกฎหมายหลายฉบับมีความล้าสมัย ไม่เป็นปัจจุบัน | 1) การดำเนินงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลจำเป็นต้องมีกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ รองรับ
2) การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวันจำเป็นต้องมีแนวทางที่ชัดเจนเพื่อมิให้เกิดข้อขัดแย้ง
3) การตีความตัวบทกฎหมายของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เข้าใจไม่ตรงกัน | ![]() 6 | ![]() 2 | ![]() 4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การปฏิบัติงานด้านดังกล่าวมีข้อผิดพลาด ไม่มีความชัดเจนและไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ดี 2. ข้าราชการและบุคลากรบางส่วนต้องสูญเสียประโยชน์จากความผิดพลาดของการปฏิบัติที่สับสน | 1.กฎหมายที่ได้กระทบจากประชาชน ไม่ทันสมัย ไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหา | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักงานกฎหมายและคดี สภากรุงเทพมหานคร |
56 | (not set) | (not set) | 16.2 ระเบียบ คำสั่ง กฎหมาย ข้อบังคับ และแนวทางการปฏิบัติไม่ได้ ถูกปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องรองรับ และเอื้ออำนวยต่อการประยุกต์เทคโนโลยีและนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติราชการและการบริการของกรุงเทพมหานคร | 1. การเปลี่ยนแปลงสภาพ-แวดล้อมต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว
2. การปรับปรุงกฎหมายและแนวปฏิบัติต่าง ๆ มีขั้นตอนมากและใช้ระยะเวลานาน
3. ไม่มีการศึกษาว่า ระเบียบคำสั่ง กฎหมาย ข้อบังคับ ฯใดบ้าง ที่ไม่สอดคล้องกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ![]() 9 | ![]() 9 | ![]() 0 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ไม่สามารถจัดหาอุปกรณ์ทดแทนเฉพาะส่วนของอุปกรณ์ที่ชำรุดได้ 2. ไม่มีแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจนที่หน่วยงานสามารถนำไปปฏิบัติได้ เนื่องจากระเบียบฯ ไม่ได้ถูกแก้ไข | 1. ไม่สามารถเพิ่มช่องทางหรือวิธีการ เพื่อจัดทำโปรแกรมประยุกต์ให้บริการประชาชนได้ทันต่อสถานการณ์เทคโนโลยีและความต้องการของประชาชน | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
57 | (not set) | (not set) | 15.1.1 ด้านรายได้การจัดเก็บรายได้ต่ำกว่าประมาณการที่ตั้งไว้และไม่เพียงพอต่องบประมาณรายจ่าย | เมื่อพิจารณาทั้งรายได้จากภาษีและไม่ใช่ภาษีที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บเองและรายได้จากภาษีที่ส่วนราชการอื่น จัดเก็บให้ พบว่า มีสาเหตุ ดังนี้
1) ความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาคและการกำหนดนโยบาย มาตรการทางการเงินการคลังของรัฐบาล | ![]() 15 | ![]() 12 | ![]() 3 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การจัดเก็บรายได้ของภาครัฐลดลง ส่งผลกระทบให้กรุงเทพมหานครจัดเก็บและได้รับการจัดสรรรายได้ลดลงตามไปด้วย | 1. ประชาชนได้รับบริการและการแก้ไขปัญหาไม่ตรงกับความต้องการ | 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี)หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร |
58 | (not set) | (not set) | 15.5.1 การจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม และเข้าข่ายการทุจริต | 1) ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดเนื่องจากผู้บังคับบัญชามีภารกิจที่ต้องดำเนินการจำนวนมาก
2. การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่มีเงื่อนไขจำนวนมาก ข้าราชการจึงใช้เป็นข้อต่อรองในการเรียกรับผลประโยชน์จากผู้ค้าหรือผู้รับจ้าง
3. ข้าราชการและผู้รับจ้างมีความสนิทสนม รู้จักกันมานาน และมีผลประโยชน์ร่วมกัน
4. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่ทำหน้าที่จัดซื้อจัดจ้าง
5. กระแสวัตถุนิยมในสังคม
6. ข้าราชการไม่มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
7. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม
8. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการเพราะมีผลประโยชน์ร่วมกันและมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
9. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับหรือชี้นำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต
10. องค์กรให้ค่าตอบแทนในอัตราที่ไม่เพียงพอกับการครองชีพ
11. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีหนี้นอกระบบ ฯลฯ
12. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติ เคยชิน และทำตามคนอื่นที่ปฏิบัติมา
13. ที่ผ่านมาไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับโทษอย่างจริงจัง | ![]() 12 | ![]() 6 | ![]() 6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. งานที่เกิดปัญหาอาจได้รับความเสียหาย ไม่มีคุณภาพประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเท่าที่ควร 2. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย 3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ) 4. สิ้นเปลืองงบประมาณเพราะได้ผลสำเร็จไม่เต็มที่ 5. ใช้งบประมาณไม่คุ้มค่า | 1. ประชาชนได้รับบริการที่ไม่มีคุณภาพเท่าที่ควรจะเป็น 2. การแข่งขันทางด้านราคาไม่สมบูรณ์หรือไม่ยุติธรรมทำให้องค์กรเสียประโยชน์ | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
59 | (not set) | (not set) | 14.1.7 ข้อมูลสำคัญและข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหล | 1) การบุกรุกโจมตีจากภายนอก
2) การติดไวรัสคอมพิวเตอร์หรือMalware
3) ข้อมูลรั่วไหลจากการเปลี่ยนมือผู้ใช้และการซ่อมแซมเครื่องที่เสีย
4) การเข้าถึงระบบสารสนเทศจากผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง
5) ข้อมูลรั่วไหลจากการจำหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์ | ![]() 8 | ![]() 2 | ![]() 6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ข้อมูลสำคัญและข้อมูลส่วนบุคคลสูญหายหรือถูกโจรกรรม 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร์เสียหาย 3. ใช้งานคอมพิวเตอร์ไม่ได้ 4. ระบบเครื่องแม่ข่ายหรือลูกข่ายติดไวรัสและแพร่กระจายสู่เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย 5. ถูกแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือรูปภาพบนWebsite | (not set) | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
60 | (not set) | (not set) | 14.1.9 การใช้ซอฟท์แวร์ที่ไม่ถูกลิขสิทธิ์ | 1) แผ่นติดตั้งระบบปฏิบัติการลิขสิทธิ์สูญหาย
2) มีการติดตั้งระบบปฏิบัติการเวอร์ชันอื่นแทนระบบปฏิบัติการลิขสิทธิ์เดิมที่มีอยู่
3) กรณีเปลี่ยนฮาร์ดแวร์ทำให้ระบบปฏิบัติการลิขสิทธิ์แบบ 1 user ไม่สามารถติดตั้งใหม่ได้ | ![]() 9 | ![]() 1 | ![]() 8 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การใช้งานอาจไม่ได้ประสิทธิภาพตามความสามารถของซอฟท์แวร์นั้นๆ 2. ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ 3. การติดไวรัสและแพร่กระจายสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เนื่องจากช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
