หน้าแรก
แผนบริหารความเสี่ยง กทม.
1.1 ทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร
1.2 แผนการจัดการความเสี่ยง ปี 2568
1.3 ตารางการบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์
1.4 โครงการและการบริหารความเสี่ยง
เข้าสู่ระบบ
หนังสือเวียน/คำสั่ง
2.1 เวียนแจ้งหน่วยงานทำรายงานควบคุมภายใน
2.2 Risk Management Framework BMA
2.3 คำสั่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กทม
2.4 แนวทางการบริหารความเสี่ยง กทม.
2.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Home
ทะเบียนความเสี่ยง กทม.
73
หน้าหลัก
แบ่งกลุ่ม ESG
กรุณาเลือก...
E (environment)- สิ่งแวดล้อม
S (social)-สังคม
G (goverment)- ธรรมภิบาล
No.
ประเภท ความเสี่ยง
รหัสประเภท
ความเสี่ยง (Risk)
14.2.1 แผนบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561-2565) ไม่ตอบสนองภารกิจของกรุงเทพมหานคร และมีความล่าช้า
ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)
1) การเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กรหรือภารกิจใหม่ที่ได้รับมอบหมายเพิ่มขึ้น อาจทำให้แผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครไม่ทันสมัย ล่าช้าและไม่ตรงกับบริบทในอนาคต 2) กำหนดตัวชี้วัดในแผนฯ จำนวนมาก หลากหลาย และยากต่อการนำไปปฏิบัติ
หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Risk Relative)
เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. - สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร - สถาบันพัฒนาข้าราชการกทม. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนัก สำนักงาน และสำนักงานเขต - สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล
ผลกระทบภายใน (Internal Impact)
1. การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์บริหารทรัพยากรบุคคลฯ อาจไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งไม่สามารถตอบสนองภารกิจของกรุงเทพมหานครได้ 2. การเสนอขอจัดสรรงบประมาณในการดำเนินการอาจไม่สอดคล้องกับแผนฯเนื่องจากต้องเสนอขอจัดสรรงบประมาณก่อนแผนฯ จะประกาศใช้
ผลกระทบภายนอก (External Impact)
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)
การควบคุมที่มีอยู่ (Control in Place)
ก่อนเกิดเหตุ 1. ประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้องด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจากทุกหน่วยงาน 2. ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อร่วมพิจารณาแผนให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต 3. จัดทำร่างแผนฯ เสนอให้อ.ก.ก.วิสามัญเกี่ยวกับยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลากรของกรุงเทพมหานคร พิจารณา 4. ชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการดำเนินการตามแผนฯ ต่อเนื่องและติดตามผลการดำเนินการเพื่อนำมาปรับแผนฯ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงที่เหลือ
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)
การจัดการความเสี่ยง