หน้าแรก
แผนบริหารความเสี่ยง กทม.
1.1 ทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร
1.2 แผนการจัดการความเสี่ยง ปี 2568
1.3 ตารางการบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์
1.4 โครงการและการบริหารความเสี่ยง
เข้าสู่ระบบ
หนังสือเวียน/คำสั่ง
2.1 เวียนแจ้งหน่วยงานทำรายงานควบคุมภายใน
2.2 Risk Management Framework BMA
2.3 คำสั่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กทม
2.4 แนวทางการบริหารความเสี่ยง กทม.
2.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Home
ทะเบียนความเสี่ยง กทม.
89
หน้าหลัก
แบ่งกลุ่ม ESG
กรุณาเลือก...
E (environment)- สิ่งแวดล้อม
S (social)-สังคม
G (goverment)- ธรรมภิบาล
No.
ประเภท ความเสี่ยง
รหัสประเภท
ความเสี่ยง (Risk)
15.5.2 การเรียกรับผลประโยชน์ เช่น การอนุมัติ อนุญาต การออกเอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ ฯลฯ
ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)
1. ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เนื่องจากหัวหน้างานมีภารกิจจำนวนมาก 2. การปฏิบัติงานมีหลายขั้นตอนและให้อำนาจใช้ดุลยพินิจเปิดโอกาสให้ข้าราชการใช้เป็นข้อต่อรองในการเรียกรับผลประโยชน์เพื่อแลกกับความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการ 3. ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานมีแรงกดดันจากปัญหาส่วนตัวด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน หนี้สิน 4. ข้าราชการมีอำนาจเต็มที่ 5. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าว 6. ข้าราชการมีความทะเยอทะยาน 7. กระแสวัตถุนิยมในสังคม 8. ข้าราชการรู้จักสนิทสนมและ 9. ผู้ค้าหรือผู้รับจ้างเสนอผลประโยชน์ให้กับข้าราชการ 10. ข้าราชการใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่มิชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับผู้ค้าหรือผู้รับจ้าง 11. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม บังคับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต 13. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการที่รับผิดชอบ เพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง 14. องค์กรให้ค่าตอบแทนที่ไม่เพียงพอกับการครองชีพ 15. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา 16. ไม่เคยเห็นผู้ที่ทำทุจริตได้รับโทษ
หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Risk Relative)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - หน่วยงานทุกแห่ง เช่น สำนัก สำนักงานเขต ฯลฯ
ผลกระทบภายใน (Internal Impact)
1. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย 2. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ) 3. องค์กรสูญเสียเงินหรือรายได้บางส่วน 4. งานได้รับความเสียหาย ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ผลกระทบภายนอก (External Impact)
1. ประชาชนได้ต้องเสียค่าใช้จ่ายฃในการรรับบริการโดยไม่จำเป็น 2. ประชาชนได้รับการเหลื่อมล้ำในการขอรับบริการ
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)
การควบคุมที่มีอยู่ (Control in Place)
ก่อนเกิดเหตุ 1. มีคู่มือปฏิบัติงานที่กำหนดขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ รวมทั้งค่าธรรมเนียมในการให้บริการ (ถ้ามี)และเปิดเผยให้ประชาชนทราบ 2. มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 3. มีระบบการรายงานผลความคืบหน้าของการดำเนินการให้ผู้บังคับบัญชาทราบเป็นระยะ 4. ดำเนินการในรูปแบบคณะกรรมการฯ ซึ่งมีผู้เกี่ยวข้องหลายคน แบ่งหน้าที่กัน 5. มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนการทุจริตจากการจัดซื้อจัดจ้าง 6. มีมาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริต 8. ตรวจสอบโดย สตง. และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 9. มีจรรยาบรรณของข้าราชการกำหนดไว้ 10. มีกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านดังกล่าว 11. มีการฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และบทกำหนดโทษจากการทุจริต 12. มีนโยบายด้านคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรอย่างชัดเจนรวมถึงการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม หลังเกิดเหตุ 1. ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือวินัย 2. ดำเนินการลงโทษผู้กระทำผิด 3. ให้ชดใช้หรือคืนเงินให้กับราชการ
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงที่เหลือ
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)
การจัดการความเสี่ยง
ก่อนเกิดเหตุ 1. มีคู่มือปฏิบัติงานที่กำหนดขั้นตอนระยะเวลาดำเนินการ รวมทั้งค่าธรรมเนียมในการให้บริการ (ถ้ามี)และเปิดเผยให้ประชาชนทราบ 2. มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 3. มีระบบการรายงานผลความคืบหน้าของการดำเนินการให้ผู้บังคับบัญชาทราบเป็นระยะ 4. ดำเนินการในรูปแบบคณะกรรมการฯ ซึ่งมีผู้เกี่ยวข้องหลายคน แบ่งหน้าที่กัน 5. มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนการทุจริตจากการจัดซื้อจัดจ้าง 6. มีมาตรการคุ้มครองผู้แจ้งเบาะแสการทุจริต 8. ตรวจสอบโดย สตง. และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 9. มีจรรยาบรรณของข้าราชการกำหนดไว้ 10. มีกฎหมายหรือระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านดังกล่าว 11. มีการฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และบทกำหนดโทษจากการทุจริต 12. มีนโยบายด้านคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรอย่างชัดเจนรวมถึงการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม หลังเกิดเหตุ 1. ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือวินัย 2. ดำเนินการลงโทษผู้กระทำผิด 3. ให้ชดใช้หรือคืนเงินให้กับราชการ