หน้าแรก
แผนบริหารความเสี่ยง กทม.
1.1 ทะเบียนความเสี่ยงของกรุงเทพมหานคร
1.2 แผนการจัดการความเสี่ยง ปี 2568
1.3 ตารางการบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์
1.4 โครงการและการบริหารความเสี่ยง
เข้าสู่ระบบ
หนังสือเวียน/คำสั่ง
2.1 เวียนแจ้งหน่วยงานทำรายงานควบคุมภายใน
2.2 Risk Management Framework BMA
2.3 คำสั่งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง กทม
2.4 แนวทางการบริหารความเสี่ยง กทม.
2.5 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Home
ทะเบียนความเสี่ยง กทม.
97
หน้าหลัก
แบ่งกลุ่ม ESG
กรุณาเลือก...
E (environment)- สิ่งแวดล้อม
S (social)-สังคม
G (goverment)- ธรรมภิบาล
No.
ประเภท ความเสี่ยง
รหัสประเภท
ความเสี่ยง (Risk)
15.5.10 การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการอย่างไม่เป็นธรรมไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมและใช้ระบบอุปถัมภ์
ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)
1. การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา 2. ความทะเยอทะยานและความต้องการก้าวหน้าในตำแหน่ง 3. ระบบอุปถัมภ์ที่ไม่มีคุณธรรม 4. ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่เปิดโอกาสให้ใช้ดุลยพินิจในการพิจารณา 5. ผู้กระทำผิดวินัยหรือกระทำทุจริตไม่ได้รับการลงโทษอย่างจริงจังและยังได้รับการส่งเสริมความก้าวหน้า
หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Risk Relative)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - หน่วยงานทุกแห่ง เช่น สำนัก สำนักงานเขต ฯลฯ
ผลกระทบภายใน (Internal Impact)
1. ส่งเสริมให้ข้าราชการที่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอได้ดำรงตำแหน่ง 2. การบริหารงานในตำแหน่งที่มีความสำคัญ อาจได้รับความเสียหาย ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ทำให้มีช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ โดยใช้อำนาจในทางที่มิชอบ 4. ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหาย 5. ข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถขาดโอกาสในการก้าวหน้าในตำแหน่ง 6. เป็นการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี
ผลกระทบภายนอก (External Impact)
-
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)
การควบคุมที่มีอยู่ (Control in Place)
ก่อนเกิดเหตุ 1. มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 2. มีนโยบายด้านคุณธรรมและจริยธรรมอย่างชัดเจน 3. มีกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล 4. มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน หลังเกิดเหตุ 1. ถูกตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกองพิทักษ์คุณธรรมและจริยธรรมและศาลปกครอง 2. ถูกลงโทษทางวินัย
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงที่เหลือ
ความรุนแรงของผลกระทบ
โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)
ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)
การจัดการความเสี่ยง
ก่อนเกิดเหตุ 1. มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 2. มีนโยบายด้านคุณธรรมและจริยธรรมอย่างชัดเจน 3. มีกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล 4. มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียน หลังเกิดเหตุ 1. ถูกตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยกองพิทักษ์คุณธรรมและจริยธรรมและศาลปกครอง 2. ถูกลงโทษทางวินัย