- ประเภทความเสี่ยง :: อุทกภัย 2
- อัคคีภัย 12
- แผ่นดินไหว 1
- ขยะ 2
- น้ำอุปโภคและน้ำเสีย 2
- มลพิษทางอากาศ 1
- ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5
- โรคระบาด 3
- การก่อการร้าย 1
- ความขัดแย้งฯ 1
- การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ 8
- ด้านเศรษฐกิจ 3
- ความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์ 3
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) 29
- ความเสี่ยงด้านการเงิน 15
- ความเสี่ยงด้านกฎหมาย 2
>> ทะเบียนความเสี่ยงของโครงการเชิงยุทธศาสตร์ กทม. ::
Showing 21-40 of 90 items.
# | รหัสโครงการ/กิจกรรม | รหัสตัวชี้วัด/ตัววัดผลหลัก | ความเสี่ยง (Risk) | ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) | ความเสี่ยงที่มี | ความเสี่ยงที่คงเหลือ | GAP | แบ่งกลุ่ม ESG | ผลกระทบภายใน (Internal Impact) | ผลกระทบภายนอก (External Impact) | โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ) | โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ) | หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
21 | (not set) | (not set) | 11.6 ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ | 1) การคิดค้นวิทยาการสมัยใหม่ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่เพิ่มขึ้น กระแสโลกาภิวัตน์ และแนวโน้มการหันมาดูแลสุขภาพของตนเองแบบเชิงรุกมากขึ้น | ![]() 9 | ![]() 6 | ![]() 3 | S (social)-สังคม | คนอายุยืนขึ้น รัฐต้องรับภาระในการดูแลเพิ่มขึ้น สัดส่วนประชากรไม่สมดุลกับงบประมาณ การจัดระบบ สาธารณูปโภคและบริการ ด้านต่าง ๆ ของรัฐต้องเพิ่มขึ้น | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สนพ. สนอ. สพส. สวท. |
22 | (not set) | (not set) | 11.8 การเข้ามาของกลุ่มคนพเนจรดิจิทัล (Digital Nomad) | 1) ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล อาทิ ความเสถียรของสัญญาณอินเตอร์เน็ต ทำให้กรุงเทพมหานครถูกจัดอันดับเป็นหนึ่งในเมืองที่เป็นเป้าหมายของ Digital Nomad ซึ่งคาดว่าจะมีจำนวนถึงล้านคน/ปี
2) ความเป็นเมืองท่องเที่ยว เป็นแรงจูงใจให้กลุ่ม Digital Nomad เข้ามาท่องเที่ยวไปพร้อมกับการทำงาน | ![]() 6 | ![]() 3 | ![]() 3 | S (social)-สังคม | 1. จำนวนของผู้ใช้บริการสาธารณะมากขึ้น | 2. ค่าครองชีพสูงขึ้น เนื่องจากกลุ่ม Digital Nomad มีกำลังซื้อสินค้าที่สูงกว่าคนไทย | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 3 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง :1. กระทรวงการต่างประเทศ |
23 | (not set) | (not set) | 12.1 การท่องเที่ยวในพื้นที่กรุงเทพมหานครไม่สามารถสร้างแรงดึงดูดนักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่ได้ | 1. กรุงเทพมหานครมีเมืองคู่แข่งด้านการท่องเที่ยวในภูมิภาคเดียวกันซึ่งแบ่งสัดส่วนของนักท่องเที่ยวจากกรุงเทพมหานคร
2. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางท่องเทียวในพื้นที่กรุงเทพมหานครสูงกว่าเมืองอื่นในภูมิภาคเดียวกัน
3. ทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครเป็นทรัพยากรที่มีอยู่เดิม กรุงเทพมหานครไม่ได้มีการสร้างทรัพยากรการท่องเที่ยวใหม่ ๆ เพิ่มเติมเท่าที่ควร | ![]() 15 | ![]() 12 | ![]() 3 | S (social)-สังคม | 1. ทำให้รายได้จากการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครลดลง 2. แหล่งท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครขาดแหล่งทุนในการดูแล บำรุงรักษา | 1. ศักยภาพด้านการเงินและสภาพคล่องของผู้ประกอบการลดลงและกระทบกับการจ้างงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 2. รายได้ของผู้ประกอบการส่งผลต่อศักยภาพการแข่งขัน | 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | - สำนักวัฒนธรรมกีฬา และการท่องเที่ยว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักพัฒนาสังคม สำนักงานเขต |
24 | (not set) | (not set) | 12.2 ด้านการลงทุนและการประกอบชีพ | 1. ต้นทุนในการประกอบธุรกิจในพื้นที่กรุงเทพค่อนข้างสูงและมีขันตอนในการขออนุญาติยุ่งยากทำให้ผู้ประกอบการหันไปพื้นที่อื่น
2. ค่าครองชีพและต้นทุนในการประกอบอาชพีของประชาชนกรุงเทพสูงกว่าต่างจังหวัดและค่าที่ดินและที่อยู่อาศัยในพื้นที่กรุงเทพข้อนค่างสูง
3. ปัญหาทุนใหญ่ผูกขาดในระบบธุรกิจของบริษัทรายใหญ่มีสัดส่วนการถือครองตลาดมากและในหลายประเภทธุรกิจทำให้ผู้ประกอบการรายย่อยทำธุรกิจด้วยความยากลำบาก
4. ผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตรายย่อยยังไม่เป็นที่น่าเชื่อถือ และไม่ได้รับการสนับสนุนด้านการตลาด | ![]() 10 | ![]() 4 | ![]() 6 | S (social)-สังคม | 1. ศักยภาพในการแข่งขันของผู้ประกอบการในพื้นที่ลดลง 2. ผู้ประกอบการ และนักลงทุนต่างประเทศ ไม่สนใจเข้ามาลงทุนในพื้นที่ 3. ผู้ประกอบการรายย่อยขาดช่องทางการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ให้ครอบครัวกลายเป็นปัญหาความเหลื่อมล้ำ | - | 10 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักการคลัง - สำนักพัฒนาสังคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักงานเขต |
25 | (not set) | (not set) | 1.2.3 ด้านหนี้ครัวเรือน | 1. สัดส่วนหนี้ครัวเรือนอยู่ในเกณฑ์ที่สูงมาโดยตลอด ที่ผ่านประชาชนคนไทยมีการกู้หนี้ยืมสินกันเยอะมาก จนทำให้สัดส่วนหนี้ครัวเรือนอยู่ในเกณฑ์ที่สูง โดยข้อมูลจารกสำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไตรมาส 3 ปี 2565 ไทยมีหนี้ครัวเรือนอยู่ที่ 14.90 ล้านล้านบาท คิดเป็น 86.8% ต่อ GDP | ![]() 12 | ![]() 8 | ![]() 4 | S (social)-สังคม | 1. ปัญหาหนี้สาธารณเพิ่มสูงขึ้นส่งผลต่อเนื่องไปยังปัญหาสังคมด้านอื่น ๆ 2. การใช้จ่ายภาคครัวเรือนลดลงส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจ และรายได้ของกรุงเทพมหานคร | 1. ความสามารถในการชำระหนี้ต่ำ กระทบกับสภาพคล่องของครัวเรือน 2. คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ได้รบผลกระทบ 3. เสี่ยงกับการทวงหนี้นอกระบบ | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักพัฒนาสังคมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักงานเขต |
26 | (not set) | (not set) | 13.1 ความเหมาะสมสอดคล้องของการกำหนดยุทธศาสตร์กับสภาพปัญหาสภาพการปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน | 1) การกำหนดเป้าหมายและวิธีการดำเนินงานยังคงยึดถือรูปแบบเป้าหมายหรือวิธีการดำเนินการแบบเดิม และมีลักษณะตายตัวและไม่สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องและไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะที่เรียกว่า“VUCA World”คือมีความผันผวน (Complexity) ความไม่แน่นอน (Uncertainty) และความกำกวม (Ambiguity)ค่อนข้าสูง | ![]() 15 | ![]() 6 | ![]() 9 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การดำเนินงานพัฒนาเมืองผิดทิศทางและไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจริงรวมทั้งไม่ต้องและทันต่อสถานการณ์ปัจจุบัน 2. การดำเนินตามยุทธศาสตร์และเป้าหมายการพัฒนาโดยไม่มีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และตลอดเวลาจะส่งผลให้แผนกลยุทธ์นั้นๆไม่ประสบผลสำเร็จได้ | 1. ประชาชนไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา และไม่ได้รับบริการที่ตรงความต้องการ | 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร |
27 | (not set) | (not set) | 11.4 ประชากรเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มที่จะมีบุตรเร็วขึ้น | 1) ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษาและการยับยั้งชั่งใจ ดำเนินชีวิตตามกระแสของสังคม ปัญหาชีวิตและครอบครัวที่ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่ | ![]() 12 | ![]() 8 | ![]() 4 | S (social)-สังคม | 1. แม่และเด็กไม่มีคุณภาพและไม่ได้รับการพัฒนาตามวัย 2. เป็นภาระของสังคมเมื่อถูกทอดทิ้ง | (not set) | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : สนศ. สนอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก : - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เจ้าภาพหลัก : สนพ. สนอ. สนท. สปท. |
28 | (not set) | (not set) | โรคระบาด | 3) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรค เช่น โรคไข้หวัดนกเกิดจากการอพยพของนกในฤดูหนาว โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง เป็นต้น | ![]() 9 | ![]() 4 | ![]() 5 | S (social)-สังคม | 1. มีโอกาสเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่และวงกว้างและไม่สามารถจำกัดขอบเขตของการแพร่ระบาดได้ 2. ระบบสาธารณสุขไม่เพียงพอต่อการรักษา หรือให้ภูมิคุ้มกันแต่ประชาชน | 1. ประชาชนเกิดการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น 2. ประชาชนที่เกิดการเจ็บป่วยอาจมีอาการรุนแรง และทำให้เสียชีวิตได้ 3. ประชาชนมีความกังวลและตื่นตระหนก 4. เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ และภาพลักษณ์ของประเทศ | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักอนามัย |
29 | (not set) | (not set) | 11.5 อัตราการตายของผู้ชายสูงขึ้น | 1) ผู้ชายมีลักษณะนิสัยและพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูง ไม่ค่อยดูแลสุขภาพ และทำงานที่มีความเสี่ยงมากกว่าผู้หญิง | ![]() 9 | ![]() 6 | ![]() 3 | S (social)-สังคม | 1.. ขาดแรงงานที่เป็นเพศชาย | 1. ขาดผู้นำครอบครัว 2. สัดส่วนของเพศชาย/หญิงไม่สมดุล | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขตหน่วนงานภายนอก : - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงมหาดไทย - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ |
30 | (not set) | (not set) | 14.1.15 การขับเคลื่อนนโยบาย แผนงาน และเป้าหมาย ในการพัฒนาด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของกรุงเทพมหานครโดยคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานครไม่เป็นไปตามเป้าหมาย นโยบายผู้บริหาร และแผนต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง ตามที่กำหนด | 1) หน่วยงานเสนอโครงการโดยกำหนดวัตถุประสงค์ขอบเขตไม่เป็นไปตามเป้าหมาย นโยบายผู้บริหารและแผนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่กำหนดไว้
2) หน่วยงานเสนอโครงการไม่เป็นไปตามปฏิทินการเสนอโครงการ
3) หน่วยงานจัดส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาเพิ่มเติมล่าช้าและไม่ครบถ้วน
4) ข้อจำกัดด้านงบประมาณ
5) การดำเนินโครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลไม่สามารถดำเนินการตามแผนงานและ/หรือการบูรณาการกับส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด | ![]() 15 | ![]() 8 | ![]() 7 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การขับเคลื่อนด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามนโยบายผว.กทม. และแผนปฏิบัติราชการ กทม. ไม่บรรลุผลสำเร็จ ตามที่กำหนด 2. คณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานครไม่สามารถจัดประชุมได้ตามแผนและส่งผลต่อการประชุมพิจารณาของสำนักงบประมาณฯ 3. ข้อจำกัดด้านงบประมาณทำให้โครงการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดิจิทัลกรุงเทพมหานคร ไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ 4. โครงการด้านเทคโนโลยีไม่สามารถดำเนินการตามแผนงานและบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดได้ | (not set) | 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | สยป สดท |
31 | (not set) | (not set) | 14.1.16 การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ไม่ตอบสนองหรือไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน | 1) การสอบถามความต้องการของผู้ใช้งานจำเป็นต้องใช้ระยะเวลาในการดำเนินการนาน
2) ผู้ใช้งานมีความต้องการระบบงานที่หลากหลาย
3) มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบหรือรายละเอียดระบบในระหว่างที่พัฒนาจึงต่างไปจากความต้องการของผู้ใช้งาน
4) เทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
5) การเกิด Bugs หรือ Defectsและการแก้ไข Defect ใหม่
6) การเกิด Bugs หรือ Defectsส่งผลให้ Defect เดิมที่เคยแก้ไขไปแล้ว กลับมาในระบบอีกครั้ง | ![]() 16 | ![]() 12 | ![]() 4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ผู้ใช้งานไม่อยากใช้ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมา เพราะไม่ตรงกับความต้องการ 2. การปฏิบัติงานไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้น | (not set) | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
32 | (not set) | (not set) | 14.1.17 ผู้ใช้งานขาดความรู้และทักษะในการใช้งานโปรแกรมระบบงานประยุกต์ ระบบสนับสนุนการทำงาน และทักษะการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น | 1) หลักการของโปรแกรมมีความซับซ้อนและเข้าใจยาก
2) ผู้ใช้งานไม่ได้รับการฝึกอบรมศึกษาจากคู่มือเท่านั้น
3) เครื่องคอมพิวเตอร์และโปรแกรมเป็นอุปกรณ์ที่ต้องใช้ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการแก้ไขปัญหา | ![]() 2 | ![]() 1 | ![]() 1 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การปฏิบัติงานและให้บริการมีความล่าช้า ติดขัด 2. เจ้าหน้าที่ดูแล บำรุงรักษาและแก้ไขเครื่องคอมพิวเตอร์และระบบงานคอมพิวเตอร์ต้องปฏิบัติงานมากขึ้น | (not set) | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
33 | (not set) | (not set) | 7.2 เกิดอุบัติเหตุทางการจราจรในพื้นที่กรุงเทพ | 1) มีปริมาณรถจำนวนมาก
2) มีผู้ค้าจำหน่ายสินค้าบนผิวจราจรและทางเท้า
3) ผู้ขับขี่ขาดวินัยจราจรไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร | ![]() 16 | ![]() 4 | ![]() 12 | S (social)-สังคม | 1. กรุงเทพมหานครไม่สามารถจัดการจราจร และสร้างความคล่องตัวในการเดินทางในช่วงเวลาดังกล่าวได้ 2. ส่งผลกระทบกับการเรียนการสอน และการดูแลความปลอดภัยให้กับนักเรียนบริเวณหน้าโรงเรียน | 1. จราจรติดขัด เสียเวลาเดินทาง 2. เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน จากรายงานสถิติจราจร ปี 2565 สถิติอุบัติเหตุทางจราจรของ กทม.มี 31,122 คดี คิดเป็นร้อยละ 49.50 ของจำนวนอุบัติเหตุทั้งหมดของประเทศ 62,869 คดี มีผู้เสียชีวิต 490 ราย บาดเจ็บสาหัส 869 ราย | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้ |
34 | (not set) | (not set) | 7.3 เกิดอุบัติเหตุที่เกี่ยวกับระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น ท่อประปาแตก ไฟฟ้ารั่ว ฯลฯ | 1) ระบบสาธารณูปโภคมีสภาพไม่ดีไม่พร้อมใช้งาน ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยและชำรุด เพราะขาดการบำรุงรักษา อย่างจริงจังและต่อเนื่อง | ![]() 9 | ![]() 4 | ![]() 5 | S (social)-สังคม | 1. การสื่อสารขัดข้อง เช่นสายเคเบิล สายโทรศัพท์ ฯลฯ ชำรุดเสียหายส่งผลกระทบต่อการทำงาน 2. ต้องเสียงบประมาณในการซ่อมแซม และแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น | 1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บเสียชีวิต และทรัพย์สินได้รับความเสียหาย 2. การจราจรติดขัด 3. เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้ |
35 | (not set) | (not set) | 13.3 การประเมินการดำเนินงานตามยุทธศาสสตร์ มีความล่าช้าและขาดความครอบคลุม | 1. ขาดข้อมูลสำหรับการติดตามประเมินผล
2. การประมินเน้นการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดเป็นหลักทำให้ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินไม่ครบถ้วนและขาดการวิเคราะห์ถึงผลกระทบของการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่เกิดขึ้นกับประชาชนและสังคม
3. การประเมินผลการดำเนินงานและการวิเคราะห์ข้อมุลในการประมินไม่เป็นไปสในแนวทางเดียวกันและขาดมาตรฐาน
4. การดำเนินงานประเมินดำเนินการในรูปของคณะกรรการซึ่งอาจทำให้ให้มีกระบวนการและขึ้นตอนการดำเนินงานเพิ่มขึ้นและมี่ความล่าช้า | ![]() 12 | ![]() 6 | ![]() 6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์และพัฒนายุทธศาสสตร์รวมทั้งการตัดสินใจขาดความครบถ้วน 2. ผลกระทบจากการขับเคลื่อนยุทธศาตร์ที่เกิดกับประชาชนจากการดำเนินงาไม่ได้รับการแก้ไขเนื่องจากขาดข้อมูลสะท้อนกลับ 3 ผลการประเมินมีความล่าช้าไม่ทันกับระยะเวลาที่ต้องใช้เพื่อการกำหนดและพัฒนายุทธศาสตร์ในระยะต่อไป | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล |
36 | (not set) | (not set) | 9.1 ขบวนการอาชญากรรมข้ามชาติมีแนวโน้มที่จะใช้ประเทศไทยเป็นสถานที่ในการก่ออาชญากรรมมากขึ้น | 1. กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงของประเทศไทย และเป็นศูนย์กลางการคมนาคม ที่สามารถเข้าออกประเทศได้ง่าย
2. ประเทศไทยมีการส่งเสริมการท่องที่ยวทำให้อาชญากรข้ามชาติส่วนหนึ่งอาศัยโอกาสเข้าประเทศในลักษณะของนักท่องเที่ยว
3. ประเทศไทยมีค่าครองชีพที่ไม่สูงมากนัก
4. สามารถหาซื้อยาเสพติด หรืออาวุธเพื่อใช้ในการกระทำผิดได้ จึงเป็นปัจจัยกระตุ้นให้อาชากรเข้ามาในประเทศ
5. ทำหนังสือเดินทางปลอมเพื่อใช้ขณะพักอาศักยอูยู๋ในพื้นที่ได้ไม่ยาก | ![]() 9 | ![]() 6 | ![]() 3 | S (social)-สังคม | 1. ประชาชนขาดความเชื่อมั่นต่อระบบความปลอดภัยของรัฐ 2. กระทบต่อเศรษฐกิจการลงทุน และการท่องเที่ยว 3. ขาดความเชื่อมั่นจากนักลงทุน และนานาชาติมีผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 4. เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่อยากไปปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยง 5. กทม. ต้องสูญเสียงบประมาณในการป้องกันและฟื้นฟูความเสียหายส่งผลกระทบต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร | 1. ประชาชนเกิดความหวาดกลัวเสียชีวิต ได้รับบาดเจ็บ มีผลต่อสุขภาพจิต 2. ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและรัฐได้รับความเสียหาย 3. ประชาชนถูกหลอกลวง ฉ้อโกงจากอาชญากรรมข้ามชาติ ต้องสูญเสียทรัพย์สิน | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | - สำนักงานปกครองและทะเบียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย2. สำนักเทศกิจ3. สำนักการจราจรและขนส่ง4. สำนักการโยธา5. สำนักการแพทย์6. สำนักอนามัย7. สำนักพัฒนาสังคม8. สำนักสิ่งแวดล้อม9. สำนักงานเขต |
37 | (not set) | (not set) | 11.3 การเพิ่มขึ้นของจำนวนแรงงานต่างด้าว | 1) ถิ่นฐานเดิมมีค่าจ้างแรงงานต่ำไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ และคนไทยไม่ประกอบอาชีพบางประเภท จึงเป็นโอกาสให้แรงงานต่างด้าวเข้ามา การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน | ![]() 25 | ![]() 20 | ![]() 5 | S (social)-สังคม | 6. ไม่สามารถจัดบริการขั้นพื้นฐานให้เพียงพอต่อความต้องการได้2. ต้องใช้ทรัพยากรในการแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุข 5. การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้ไม่เพียงพอ7. การทำงานนอกกฎหมายที่กำหนด | 3. ไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 4. ปัญหายาเสพติด 1. แรงงานไทยระดับล่างถูกแย่งงาน ปัญหาว่างงาน 8. ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม6. การรับบริการขั้นพื้นฐานไม่เพียงพอ | 25 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก : สปท. สพส. สนพ. สนอ.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก : - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ |
38 | (not set) | (not set) | 11.2 การอพยพย้ายถิ่นฐานของประชากรและประชากรแฝง | 1) ถิ่นฐานเดิมมีสภาพความเป็นอยู่ที่ไม่ดีและไม่มีคุณภาพ มีทรัพยากรจำกัด | ![]() 25 | ![]() 16 | ![]() 9 | S (social)-สังคม | 1. กรุงเทพมหานครต้องรองรับการดูแลประชากรแฝงมากขึ้น2. การที่มีประชากรแฝงจำนวนมากและไม่สามารถกำหนดจำนวนและลักษณะที่ชัดเจนทำให้ไม่สามารถประมาณการงบประมาณและบริการที่ตัองจัดบริการรองรับได้อย่างเหมาะสม เพียงพอ3. ทรัพยากรลดลง ไม่เพียงพอสำหรับอนาคต | 2. ปัญหาด้านที่อยู่อาศัย แออัดคุณภาพชีวิตไม่ดี3. ได้รับบริการขั้นพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ4. ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน5. ปัญหาครอบครัวความรุนแรงในครอบครัว6. ปัญหาสังคม7. อาชีพและรายได้ไม่เพียงพอ | 25 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก : 1. สำนักงานปกครองและทะเบียน 2. สำนักพัฒนาสังคม 3. สำนักการแพทย์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก : - กระทรวงมหาดไทย |
39 | (not set) | (not set) | 14.1.12 ประสิทธิภาพเครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เหมาะสมกับการใช้งานในปัจจุบัน | 1) ระบบปฏิบัติการ (OS)และโปรแกรม (Software)ในปัจจุบันใช้ทรัพยากรมากขึ้นทำให้เครื่องช้า
2) จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณลักษณะไม่เหมาะสมกับการใช้งาน | ![]() 9 | ![]() 1 | ![]() 8 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติงาน 2. ไม่สามารถปฏิบัติงานได้ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่รองรับการใช้งานโปรแกรมในปัจจุบัน | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล |
40 | (not set) | (not set) | 14.1.13 ขาดนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการมาตรฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อสารของกทม. และให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล ได้แก่มาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศมาตรฐานเครือข่ายและ การสื่อสารข้อมูลมาตรฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศมาตรฐานวิชาชีพและสมรรถนะหลักด้านIT | 1) ผู้บริหารไม่เห็นประโยชน์ของการพัฒนาหรือปฏิบัติงานด้านดังกล่าวให้เป็นมาตรฐานสากลจึงไม่ได้มุ่งเน้นนโยบายด้านดังกล่าว
2) การปฏิบัติเรื่องดังกล่าวของกรุงเทพมหานครยังไม่พร้อมที่จะนำมาตรฐานสากลมาประยุกต์ใช้
3) มาตรฐานสากลมีรายละเอียดที่จะต้องปฏิบัติจำนวนมาก4) ยังไม่มีผลการบังคับใช้อย่างจริงจังในระดับประเทศ | ![]() 6 | ![]() 2 | ![]() 4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลให้เกิดประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ไม่สามารถบูรณาการฐานข้อมูลของระบบต่าง ๆ มาใช้ให้บริการประชาชน ปฏิบัติงานและสนับสนุนการตัดสินใจบริหารจัดการกรุงเทพมหานคร 3. การพัฒนาระบบสารสนเทศของแต่ละหน่วยงานแตกต่างกัน 4. ข้อมูลไม่ตรงกัน ไม่เป็นปัจจุบันซ้ำซ้อน และไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้5. ไม่มีแนวทางดำเนินงานที่ชัดเจนที่หน่วยงานสามารถนำไปปฏิบัติได้เนื่องจากระเบียบฯไม่ได้ถูกแก้ไข | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
