Showing 1-2 of 2 items.
#แบ่งกลุ่ม ESGประเภท ความเสี่ยงNo.ความเสี่ยง (Risk)ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)ความเสี่ยงที่มีความเสี่ยงที่คงเหลือ ผลกระทบภายใน (Internal Impact) ผลกระทบภายนอก (External Impact)โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
 
1E (environment)- สิ่งแวดล้อมอุทกภัย1.11.1 น้ำฝนตกลงมาในปริมาณที่มากเกินอัตราที่ระบบป้องกันน้ำท่วมของ กรุงเทพฯ จะรับได้ (รับได้ที่ประมาณ๖๐ มิลลิเมตรต่อชั่วโมง)
1) ภาวะโลกร้อน (Global Warming) และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) 2) พื้นที่ลุ่มต่ำ 3) ขยะตกค้างกีดขวางอุดตันทางระบายน้ำและท่อระบายน้ำ 4) การก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง ขวางทางน้ำไหล พื้นที่รองรับน้ำลดลง 5) การก่อสร้างสาธารณูปโภครถไฟฟ้า ท่ออุโมงค์ ท่อประปา ท่อ- เช่นร้อยสายโทรศัพท์ การก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำ และโครงการก่อสร้างอื่นๆ ของรัฐกีดขวางทางน้ำไหล 6) การบริหารจัดการปัญหาน้ำท่วมขังที่ขาดประสิทธิภาพและการบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7) ท่อระบายน้ำเดิมไม่เพียงพอกับการรองรับ 8) ประชาชนส่วนใหญ่ขาดจิตสำนึกของจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและความรับผิดชอบต่อสังคม

8

6
1. เกิดปัญหาน้ำท่วมเพิ่มขึ้นทั้งบริเวณจุดที่มีปัญหาน้ำท่วมและระยะเวลาน้ำท่วมขังจะเพิ่มขึ้น ใช้เวลาแก้ไขนานขึ้น
2. สูญเสียงบประมาณในการซ่อมแซมถนน สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค และบ้านเรือนของประชาชน
1. สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของรัฐและประชาชน
2. ปัญหาการจราจรติดขัด
3. น้ำท่วมขังสกปรก ส่งผลต่อสุขอนามัยของประชาชน
4. น้ำไม่สามารถไหลลงคลองได้อย่างสะดวก
5. เกิดปัญหาด้านสุขภาพจิตของประชาชน
6. มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจการท่องเที่ยวในภาพรวม
8ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สำนักการระบายน้ำ
2E (environment)- สิ่งแวดล้อมอุทกภัย1.21.2 น้ำท่วมจากน้ำหลากพื้นที่ด้านบนของกรุงเทพที่มาจากงแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย คลองมหาสวัสดิ์ และน้ำบ่าจากทุ่งรอบกรุงเทพมหานคร
1) ปริมาณน้ำเกินกว่าขีดความสามารถของแนวป้องกันน้ำหลากจะรองรับได้ และมีปริมาณน้ำและค่าระดับน้ำสูงกว่าแนวคันกั้นน้ำของกรุงเทพมหานคร 2) ปัญหาพื้นที่นอกแนวป้องกันของกรุงเทพมหานครที่ประสบปัญหาน้ำท่วม กดดันให้กรุงเทพมหานครเปิดประตูระบายน้ำเข้าท่วมในพื้นที่ชั้นใน 3) การสร้างแนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำและคลอง ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่ตลอดแนว รวมทั้งแนวป้องกันเดิมมีสภาพชำรุด

9

6
1. เกิดปัญหาน้ำท่วมเพิ่มขึ้นทั้งบริเวณจุดที่มีปัญหาน้ำท่วมและระยะเวลาน้ำท่วมขังจะเพิ่มขึ้นใช้เวลาแก้ไขนานขึ้น
2. สูญเสียงบประมาณในการซ่อมแซมถนน สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค และบ้านเรือนของประชาชนบริโภค
1. ความเสียหายด้านเกษตรกรรม(บริเวณพื้นที่ใกล้ปากแม่น้ำเจ้าพระยา) ด้านอุปโภคบริโภคและด้านเศรษฐกิจ
2. ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและรัฐ
3. ประชาชนไม่มีที่อยู่อาศัยขาดแคลนเครื่องอุปโภคและบริโภค
4. การสัญจรระบบการคมนาคมถูกตัดขาด
9ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สำนักการระบายน้ำ