- ประเภทความเสี่ยง :: อุทกภัย 2
- อัคคีภัย 12
- แผ่นดินไหว 1
- ขยะ 2
- น้ำอุปโภคและน้ำเสีย 2
- มลพิษทางอากาศ 1
- ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5
- โรคระบาด 3
- การก่อการร้าย 1
- ความขัดแย้งฯ 1
- การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ 8
- ด้านเศรษฐกิจ 3
- ความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์ 3
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) 29
- ความเสี่ยงด้านการเงิน 11
- ความเสี่ยงด้านกฎหมาย 2
>> ข้อมูลทะเบียนความเสี่ยง กทม. :: ความขัดแย้งฯ
Showing 1-1 of 1 item.
# | แบ่งกลุ่ม ESG | ประเภท ความเสี่ยง | No. | ความเสี่ยง (Risk) | ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) | ความเสี่ยงที่มี | ความเสี่ยงที่คงเหลือ | ผลกระทบภายใน (Internal Impact) | ผลกระทบภายนอก (External Impact) | โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ) | โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ) | หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | S (social)-สังคม | ความขัดแย้งฯ | 10 | ความขัดแย้งทางสังคม | 1. กรุงเทพมหานครเป็นเมืองศูนย์กลางของประเทศ ทั้งด้านการบริหาร เศรษฐกิจการศึกษา คมนาคม ฯลฯ ดังนั้นเมื่อมีปัญหาความขัดแย้งของคนในชาติ ไม่ว่าจะเกิดในพื้นที่ใดของประเทศ ทั้งจากปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองหรือผลกระทบในการประกอบอาชีพหรือจากการดำเนินนโยบายของรัฐก็มักจะมีกลุ่มที่ได้รับผลกระทบเดินทางเข้ามาเรียกร้องหรือแสดงสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในพื้นที่กทม.เสมอ ทั้งที่ทำเนียบรัฐบาลรัฐสภา องค์กรอิสระ กระทรวง ทบวงกรม รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานทหาร ตำรวจกระจายไปทุกพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร ซึ่งในบางครั้งการเข้ามาเรียกร้องหรือแสดงสัญลักษณ์มีพัฒนาการไปถึงขั้นการจัดให้มีการชุมนุมยืดเยื้อ ปัญหาที่พบเช่น ความขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับแรงงานทั้งในประเทศและต่างด้าว การจัดระเบียบผู้ค้าหาบเร่ การขึ้นค่าโดยสารนักเรียนตีกัน บุกรุกที่สาธารณะ ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ ฯลฯ | ![]() 4 | ![]() 2 | 1. ความขัดแย้งส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของทุกภาคส่วน 2. การบริหารงานทางการเมืองไม่มีเสถียรภาพ 3. กระทบต่อความเชื่อมั่นระหว่างประเทศ 4. เกิดการแสวงหาอำนาจพวกพ้อง 5. มีการรวมตัวหรือจับกลุ่มเพื่อเรียกร้องสิทธิ์ 6. มีการร้องเรียนหรือร้องทุกข์กับหน่วยงานต่างๆ 7. ความเสียหายต่อระบบสาธารณูปโภค เช่น - ขโมยทรัพย์สิน สายไฟไฟสปอร์ทไลท์ - การทำลายทรัพย์สิน การเจาะถนน เพื่อตั้งสมอบก - การทำลายกล้อง CCTVเพื่อไม่ให้บันทึกภาพ - การเจาะท่อประปา เพื่อต่อ น้ำใช้ 8. สูญเสียงบประมาณแผ่นดินในการแก้ไขปัญหา | 1. การจราจรติดขัด 2. ประชาชนสัญจรไปมาบนทางเท้าไม่สะดวก เนื่องจากการตั้งกีดขวางของ - ร้านค้าขายของที่ระลึก - เวทีผู้ชุมนุมตั้งบนพื้นถนน - รั้วเหล็กผู้ชุมนุมนำมากั้นบริเวณทางเท้า - จอโปรเจ็คเตอร์ - ห้องน้ำ ห้องสุขา - ที่พักชั่วคราว 3. ปัญหาสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุมนุมและบริเวณข้างเคียง ได้แก่ - ขยะมูลฝอย - กลิ่นเหม็น - เสียงดัง - ความสะอาดและสุขอนามัย 4. ไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5. ความไม่สะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวัน 6. ผลกระทบทางด้านจิตใจ 7. แตกความสามัคคีแบ่งเป็นฝักเป็นฝ่ายของคนในชาติ 8. ผลกระทบด้านการศึกษา 9. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจธุรกิจ การค้า การส่งออกการลงทุน การท่องเที่ยว 10. คุณภาพการดำเนินชีวิตตกต่ำ 11. ความขัดแย้งทางศาสนามักจะมีความรุนแรง พร้อมที่จะสละชีวิตเพื่อความเชื่อ อุดมการณ์ 12. เกิดความเหลื่อมล้ำในสังคม"รวยกระจุก จนกระจาย" | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - สำนักงานปกครองและทะเบียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการแพทย์ 2. สำนักอนามัย 3. สำนักการโยธา 4. สำนักสิ่งแวดล้อม 5. สำนักการจราจรและขนส่ง 6. สำนักพัฒนาสังคม 7. สำนักงบประมาณฯ 8. สำนักการค |
