Showing 1-8 of 8 items.
#แบ่งกลุ่ม ESGประเภท ความเสี่ยงNo.ความเสี่ยง (Risk)ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)ความเสี่ยงที่มีความเสี่ยงที่คงเหลือ ผลกระทบภายใน (Internal Impact) ผลกระทบภายนอก (External Impact)โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
 
1S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.111.1 ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
1) จากการสำรวจล่าสุดพบว่า ประเทศไทยมีสัดส่วนของประชาชนวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นเกือบครึ่งหนึ่งของประชากรวัยเด็ก นอกจากนี้ยังพบว่า อัตราส่วนเกื้อหนุนผู้สูงอายุมีแนวโน้มลดลง และมีผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่คนเดียวตามลำพังโดยปราศจากคู่ชีวิตที่จะช่วยเหลือและปรึกษากันในบั้นปลายชีวิตมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุหญิงซึ่งการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วส่งผลให้การพึ่งพาทางเศรษฐกิจและการเกื้อหนุนทางสังคมระหว่างประชากรวัยต่าง ๆ เปลี่ยนไป ศักยภาพของวัยแรงงาน ในการสนับสนุนผู้สูงอายุลดลง ในส่วนของผู้สูงวัยก็มีอายุยืนยาวขึ้น ต้องเผชิญกับภาวะการเจ็บป่วยและการช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง ปัจจุบัน กรุงเทพมหานครมีผู้สูงอายุจำนวนประมาณ 767,516 คน ที่จะต้องดูแลและจัดสวัสดิการ หมายเหตุจำนวนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 1.2 ล้านคน ในปี พ.ศ. 2503 เป็น 8.5 ล้านคนในปี พ.ศ. 2553 (เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.6 เป็นร้อยละ 13.2) ในขณะที่มีหน่วยงานหรือองค์กรที่รองรับผู้สูงอายุไม่เพียงพอ นอกจากนี้ กฎหรือระเบียบต่าง ๆ ยังทำให้ผู้สูงอายุหลายรายไม่สามารถเข้ารับบริการจากองค์กรของรัฐและเอกชนได้

16

12
1. จำนวนแรงงานในวัยแรงงานลดลงทำให้กรุงเทพมหานครและหน่วยงานภาครัฐขาดกำลังคนในการเข้ามาทำงานร่วมกับกรุงเทพมหาคร 2. การจัดเก็บภาษีได้ลงลงรายได้และงบประมาณของกรุงเทพมหานครลดลง
3. กรุงเทพมหานครต้องใช้งบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น
1. ผู้สูงอายุขาดคุณภาพชีวิตที่ดี
2. ผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลอย่างเสมอภาคและทั่วถึง
3. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์
4. ผู้สูงอายุขาดที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม
5. ผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะทุพพลภาพ หรือภาวะพึ่งพาสูงเพิ่มขึ้น
6. ผู้สูงอายุขาดการดูแลเอาใจใส่จากสมาชิกในครอบครัว
7. รายได้ครัวเรือนไม่เพียงพอ
16ระดับความเสี่ยงสูงมาก12ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก : 1. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล2. สำนักพัฒนาสังคม3. สำนักอนามัย4. สำนักการแพทย์5. สำนักการศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก :1. กระทรวงแรงงาน 2. กระทรวงเกษตรฯ3. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 4. กระทรวงม
2S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.211.2 การอพยพย้ายถิ่นฐานของประชากรและประชากรแฝง
1) ถิ่นฐานเดิมมีสภาพความเป็นอยู่ที่ไม่ดีและไม่มีคุณภาพ มีทรัพยากรจำกัด

25

16
1. กรุงเทพมหานครต้องรองรับการดูแลประชากรแฝงมากขึ้น2. การที่มีประชากรแฝงจำนวนมากและไม่สามารถกำหนดจำนวนและลักษณะที่ชัดเจนทำให้ไม่สามารถประมาณการงบประมาณและบริการที่ตัองจัดบริการรองรับได้อย่างเหมาะสม เพียงพอ3. ทรัพยากรลดลง ไม่เพียงพอสำหรับอนาคต2. ปัญหาด้านที่อยู่อาศัย แออัดคุณภาพชีวิตไม่ดี3. ได้รับบริการขั้นพื้นฐานที่ไม่เพียงพอ4. ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน5. ปัญหาครอบครัวความรุนแรงในครอบครัว6. ปัญหาสังคม7. อาชีพและรายได้ไม่เพียงพอ25ระดับความเสี่ยงสูงมาก16ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก : 1. สำนักงานปกครองและทะเบียน 2. สำนักพัฒนาสังคม 3. สำนักการแพทย์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก : - กระทรวงมหาดไทย
3S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.311.3 การเพิ่มขึ้นของจำนวนแรงงานต่างด้าว
1) ถิ่นฐานเดิมมีค่าจ้างแรงงานต่ำไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ และคนไทยไม่ประกอบอาชีพบางประเภท จึงเป็นโอกาสให้แรงงานต่างด้าวเข้ามา การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

25

20
6. ไม่สามารถจัดบริการขั้นพื้นฐานให้เพียงพอต่อความต้องการได้2. ต้องใช้ทรัพยากรในการแก้ไขปัญหาด้านสาธารณสุข 5. การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ทำให้ไม่เพียงพอ7. การทำงานนอกกฎหมายที่กำหนด3. ไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 4. ปัญหายาเสพติด 1. แรงงานไทยระดับล่างถูกแย่งงาน ปัญหาว่างงาน 8. ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม6. การรับบริการขั้นพื้นฐานไม่เพียงพอ25ระดับความเสี่ยงสูงมาก20ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก : สปท. สพส. สนพ. สนอ.หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก : - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
4S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.411.4 ประชากรเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มที่จะมีบุตรเร็วขึ้น
1) ขาดความรู้เรื่องเพศศึกษาและการยับยั้งชั่งใจ ดำเนินชีวิตตามกระแสของสังคม ปัญหาชีวิตและครอบครัวที่ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่

12

8
1. แม่และเด็กไม่มีคุณภาพและไม่ได้รับการพัฒนาตามวัย 2. เป็นภาระของสังคมเมื่อถูกทอดทิ้ง(not set)12ระดับความเสี่ยงสูงมาก8ระดับความเสี่ยงสูงเจ้าภาพหลัก : สนศ. สนอ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขต หน่วนงานภายนอก : - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เจ้าภาพหลัก : สนพ. สนอ. สนท. สปท.
5S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.511.5 อัตราการตายของผู้ชายสูงขึ้น
1) ผู้ชายมีลักษณะนิสัยและพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงสูง ไม่ค่อยดูแลสุขภาพ และทำงานที่มีความเสี่ยงมากกว่าผู้หญิง

9

6
1.. ขาดแรงงานที่เป็นเพศชาย1. ขาดผู้นำครอบครัว 2. สัดส่วนของเพศชาย/หญิงไม่สมดุล9ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : - สำนักงานเขตหน่วนงานภายนอก : - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงมหาดไทย - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
6S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.611.6 ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์
1) การคิดค้นวิทยาการสมัยใหม่ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ที่เพิ่มขึ้น กระแสโลกาภิวัตน์ และแนวโน้มการหันมาดูแลสุขภาพของตนเองแบบเชิงรุกมากขึ้น

9

6
คนอายุยืนขึ้น รัฐต้องรับภาระในการดูแลเพิ่มขึ้น สัดส่วนประชากรไม่สมดุลกับงบประมาณ การจัดระบบ สาธารณูปโภคและบริการ ด้านต่าง ๆ ของรัฐต้องเพิ่มขึ้น(not set)9ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สนพ. สนอ. สพส. สวท.
7S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.711.7 อัตราการเกิดลดลง
1) การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและค่านิยมทางสังคม อาทิเช่น ผู้หญิงที่ทำงานมีจำนวนและอัตราที่สูงขึ้น การแต่งงานช้าลงทำให้ค่าเฉลี่ยคู่สมรสมีอายุสูงขึ้น ครอบครัวมีบุตรคนแรกช้ากว่าในอดีต แนวโน้มของการเป็นโสดที่เพิ่มมากขึ้น การให้คุณค่ากับความสำเร็จของชีวิตมากกว่าการมี 2) นโยบายหรือมาตรการจูงใจในการมีบุตรไม่ชัดเจนบุตร

20

12
1. ประชากรลดลง การลงทุนในบริการสาธารณะหรือโครงสร้างพื้นฐานจะเป็นการขาดผู้ใช้งาน
2. ขาดแรงงานในภาคธุรกิจและเกษตรกรรม

1. ครอบครัวเดี่ยวจะมากขึ้น รวมถึงช่องว่างระหว่างวัยมากขึ้น เนื่องจากการมีบุตรช้าลง
2. รูปแบบสังคมเปลี่ยนไป คนจะมีปฏิสัมพันธ์กันน้อยลง และเน้นการรวมกลุ่มในโลกดิจิทัลมากขึ้น
20ระดับความเสี่ยงสูงมาก12ระดับความเสี่ยงสูงมากเจ้าภาพหลัก : 1. สำนักอนามัย 2. สำนักการแพทย์ 3. สำนักพัฒนาสังคม
8S (social)-สังคมการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์11.811.8 การเข้ามาของกลุ่มคนพเนจรดิจิทัล (Digital Nomad)
1) ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล อาทิ ความเสถียรของสัญญาณอินเตอร์เน็ต ทำให้กรุงเทพมหานครถูกจัดอันดับเป็นหนึ่งในเมืองที่เป็นเป้าหมายของ Digital Nomad ซึ่งคาดว่าจะมีจำนวนถึงล้านคน/ปี 2) ความเป็นเมืองท่องเที่ยว เป็นแรงจูงใจให้กลุ่ม Digital Nomad เข้ามาท่องเที่ยวไปพร้อมกับการทำงาน

6

3
1. จำนวนของผู้ใช้บริการสาธารณะมากขึ้น2. ค่าครองชีพสูงขึ้น เนื่องจากกลุ่ม Digital Nomad มีกำลังซื้อสินค้าที่สูงกว่าคนไทย6ระดับความเสี่ยงปานกลาง3ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง :1. กระทรวงการต่างประเทศ