1 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.1.1 | 15.1.1 ด้านรายได้การจัดเก็บรายได้ต่ำกว่าประมาณการที่ตั้งไว้และไม่เพียงพอต่องบประมาณรายจ่าย
| เมื่อพิจารณาทั้งรายได้จากภาษีและไม่ใช่ภาษีที่กรุงเทพมหานครจัดเก็บเองและรายได้จากภาษีที่ส่วนราชการอื่น จัดเก็บให้ พบว่า มีสาเหตุ ดังนี้
1) ความผันผวนของเศรษฐกิจมหภาคและการกำหนดนโยบาย มาตรการทางการเงินการคลังของรัฐบาล
|  15 |  12 | 1. การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การจัดเก็บรายได้ของภาครัฐลดลง ส่งผลกระทบให้กรุงเทพมหานครจัดเก็บและได้รับการจัดสรรรายได้ลดลงตามไปด้วย
| 1. ประชาชนได้รับบริการและการแก้ไขปัญหาไม่ตรงกับความต้องการ
| 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี)หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร |
2 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.1.2 | 15.1.2 ด้านรายได้การจัดเก็บรายได้ต่ำกว่าประมาณการที่ตั้งไว้และไม่เพียงพอต่องบประมาณรายจ่าย
| 2) ข้อจำกัดทางกฎหมายในการจัดหารายได้เพิ่มเติม อัตราภาษี อัตราค่าบริการต่างๆ ไม่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน
|  20 |  16 | - ทำให้รายได้จากที่ กทม. จัดเก็บเองในแต่ละปีมีจำนวนเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงหรือเพิ่มไม่เกินร้อยละ 10 ต่อปี ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความอ่อนแอทางการคลังของกรุงเทพมหานคร
- ยอดจำหน่ายปริมาณน้ำมันที่สถานีบริการน้ำมันแจ้งมา เพื่อเสียภาษีในแต่ละเดือน ไม่สามารถตรวจสอบการจำหน่ายได้อย่างแท้จริง | - | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก - สำนักการคลัง (สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี) |
3 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.2 | 15.2 ด้านรายจ่ายการเบิกจ่ายของหน่วยงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
| 1) การจัดเก็บรายได้ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มลดลงไม่สมดุลกับงบประมาณที่ตั้งไว้2.หน่วยงานไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินที่กำหนดไว้3.หน่วยงานภาครัฐมอบนโยบายและหรือถ่ายโอนภารกิจให้กทม.ดำเนินการแต่ขาดการสนับสนุนงบประมาณ
|  12 |  6 | - | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักการคลัง |
4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.3 | 15.3 ด้านการก่อหนี้และบริหารหนี้กรุงเทพมหานครอาจจะไม่มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการก่อหนี้เงินกู้สำหรับโครงการขนาดใหญ่การบริหารหนี้เงินกู้ไม่มีประสิทธิผล
| 1.ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร/หน่วยงานอาจจะไม่ทราบสถานะทางการคลังอย่างต่อเนื่องจึงไม่ได้กำหนดแนวทางที่ชัดเจนและก่อหนี้เงินกู้เกินความสามารถด้านการคลังของและหรืออาจจะไม่สามารถชำระหนี้เงินกู้ตามที่กำหนดในสัญญา
2.การบริหารการกู้เงินมีการกำหนดหลักเกณฑ์ไว้ในกฎหมายหลายฉบับ ซึ่งอาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดได้
|  12 |  9 | - | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี) |
5 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.4 | 15.4 ด้านการบริหารสภาพคล่องระดับเงินคงคลังไม่เหมาะสมและเพียงพอต่อการบริหารสภาพคล่อง
| 1) บริหารงานการเงิน โดยขาดการวิเคราะห์ข้อมูลฐานะทางการเงินที่ถูกต้องเหมาะสม
|  9 |  4 | (not set) | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี) |
6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.5.1 | 15.5.1 การจัดซื้อจัดจ้างที่ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสม และเข้าข่ายการทุจริต
| 1) ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดเนื่องจากผู้บังคับบัญชามีภารกิจที่ต้องดำเนินการจำนวนมาก
2. การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่มีเงื่อนไขจำนวนมาก ข้าราชการจึงใช้เป็นข้อต่อรองในการเรียกรับผลประโยชน์จากผู้ค้าหรือผู้รับจ้าง
3. ข้าราชการและผู้รับจ้างมีความสนิทสนม รู้จักกันมานาน และมีผลประโยชน์ร่วมกัน
4. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่ทำหน้าที่จัดซื้อจัดจ้าง
5. กระแสวัตถุนิยมในสังคม
6. ข้าราชการไม่มีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
7. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม
8. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการเพราะมีผลประโยชน์ร่วมกันและมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
9. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับหรือชี้นำให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต
10. องค์กรให้ค่าตอบแทนในอัตราที่ไม่เพียงพอกับการครองชีพ
11. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีหนี้นอกระบบ ฯลฯ
12. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติ เคยชิน และทำตามคนอื่นที่ปฏิบัติมา
13. ที่ผ่านมาไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับโทษอย่างจริงจัง
|  12 |  6 | 1. งานที่เกิดปัญหาอาจได้รับความเสียหาย ไม่มีคุณภาพประสิทธิภาพ และประสิทธิผลเท่าที่ควร
2. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
4. สิ้นเปลืองงบประมาณเพราะได้ผลสำเร็จไม่เต็มที่
5. ใช้งบประมาณไม่คุ้มค่า | 1. ประชาชนได้รับบริการที่ไม่มีคุณภาพเท่าที่ควรจะเป็น
2. การแข่งขันทางด้านราคาไม่สมบูรณ์หรือไม่ยุติธรรมทำให้องค์กรเสียประโยชน์ | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
7 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.5.10 | 15.5.10 การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการอย่างไม่เป็นธรรมไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมและใช้ระบบอุปถัมภ์
| 1. การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา
2. ความทะเยอทะยานและความต้องการก้าวหน้าในตำแหน่ง
3. ระบบอุปถัมภ์ที่ไม่มีคุณธรรม
4. ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่เปิดโอกาสให้ใช้ดุลยพินิจในการพิจารณา
5. ผู้กระทำผิดวินัยหรือกระทำทุจริตไม่ได้รับการลงโทษอย่างจริงจังและยังได้รับการส่งเสริมความก้าวหน้า
|  12 |  6 | 1. ส่งเสริมให้ข้าราชการที่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอได้ดำรงตำแหน่ง
2. การบริหารงานในตำแหน่งที่มีความสำคัญ อาจได้รับความเสียหาย ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
3. ทำให้มีช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ โดยใช้อำนาจในทางที่มิชอบ
4. ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหาย
5. ข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถขาดโอกาสในการก้าวหน้าในตำแหน่ง
6. เป็นการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
8 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.5.2 | 15.5.2 การเรียกรับผลประโยชน์ เช่น การอนุมัติ อนุญาต การออกเอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ ฯลฯ
| 1. ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เนื่องจากหัวหน้างานมีภารกิจจำนวนมาก
2. การปฏิบัติงานมีหลายขั้นตอนและให้อำนาจใช้ดุลยพินิจเปิดโอกาสให้ข้าราชการใช้เป็นข้อต่อรองในการเรียกรับผลประโยชน์เพื่อแลกกับความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการ
3. ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานมีแรงกดดันจากปัญหาส่วนตัวด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน หนี้สิน
4. ข้าราชการมีอำนาจเต็มที่
5. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าว
6. ข้าราชการมีความทะเยอทะยาน
7. กระแสวัตถุนิยมในสังคม
8. ข้าราชการรู้จักสนิทสนมและ
9. ผู้ค้าหรือผู้รับจ้างเสนอผลประโยชน์ให้กับข้าราชการ
10. ข้าราชการใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่มิชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับผู้ค้าหรือผู้รับจ้าง
11. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม บังคับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต
13. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการที่รับผิดชอบ เพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
14. องค์กรให้ค่าตอบแทนที่ไม่เพียงพอกับการครองชีพ
15. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
16. ไม่เคยเห็นผู้ที่ทำทุจริตได้รับโทษ
|  12 |  6 | 1. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
2. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
3. องค์กรสูญเสียเงินหรือรายได้บางส่วน
4. งานได้รับความเสียหาย ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล | 1. ประชาชนได้ต้องเสียค่าใช้จ่ายฃในการรรับบริการโดยไม่จำเป็น
2. ประชาชนได้รับการเหลื่อมล้ำในการขอรับบริการ | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: สำนักการคลัง |
9 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.5.3 | 15.5.3 การยักยอกเงินเช่น การเก็บค่าธรรมเนียมเก็บขนมูลฝอย ภาษีประเภทต่าง ๆ การใช้ใบเสร็จปลอม ฯลฯ
| 1. รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายประจำ จึงเป็นแรงกดดันให้ทำการ-ทุจริต (เงินเดือนและผลตอบแทนน้อยกว่าค่าครองชีพ)
2. ขาดการควบคุมและติดตามงานจากผู้บังคับบัญชาอย่างใกล้ชิดเนื่องจากไว้วางใจและติดภารกิจอื่น
3. ไม่มีมาตรการควบคุมการ-ดำเนินการที่รัดกุม เปิดโอกาสให้ข้าราชการทำทุจริตได้ เช่น ไม่ควบคุมการเบิกและรักษาใบเสร็จ
4. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าว
5. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม
6. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าวเพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
7. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต
8. กระแสวัตถุนิยม
9. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีหนี้สิน ฯลฯ
10. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
11. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง
|  8 |  4 | 1. รายได้ของกรุงเทพมหานครไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือประมาณการ
2. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
4. ต้องสรรหาข้าราชการหรือบุคลากรใหม่
5. สูญเสียงบประมาณในการนำมาพัฒนากรุงเทพมหานคร
6. งานขององค์กรได้รับความเสียหาย ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
| 1. ประชาชนได้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรรับบริการโดยไม่จำเป็น
2. ประชาชนได้รับการเหลื่อมล้ำในการขอรับบริการ | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักงาน กก |
10 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.5.4 | 15.5.4 การใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่างไม่เหมาะสมเช่น นำไปใช้ส่วนตัว สำรองห้องพักของโรงพยาบาลให้กับญาติและคนรู้จัก ฯลฯ
| 1. ผู้มีอำนาจหน้าที่ในการอนุมัติควบคุม ครอบครอง และรักษาทรัพย์สิน ไม่ปฏิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัด
2. ความสนิทสนมส่วนบุคคลระหว่างเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจึงละเว้นหรือไม่ปฏิบัติตามระบบการควบคุมที่กำหนดไว้
3. ความไว้วางใจ ขาดการติดตามและกำกับดูแลอย่างใกล้ชิด
4. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม
5. ผู้บังคับบัญชาและข้าราชการที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานด้านดังกล่าวร่วมมือกัน เพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
6. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำทุจริต
7. กระแสวัตถุนิยมในสังคม
8. ได้รับมอบหมายให้ดูแลรับผิดชอบสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูงซึ่งเป็นสิ่งล่อใจ
9. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีภาระหนี้สิน ฯลฯจึงไม่สามารถซื้อทรัพย์สินที่เป็นของตนเองได้
10. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
11. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง
|  12 |  9 | 1. ทรัพย์สินของทางราชการชำรุดและเสียหาย
2. สิ้นเปลืองงบประมาณ
3. สูญเสียโอกาสในการใช้งานทรัพย์สิน เพื่อให้เกิดประโยชน์กับราชการ
4. งานขององค์กรได้รับความเสียหาย
5. งานไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
6. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดีหากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ) | (not set) | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก.เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
11 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | ความเสี่ยงด้านการเงิน | 15.5.5 | 15.5.5 การเบียดบังเวลาราชการ
| 1. ข้าราชการเห็นประโยชน์ส่วนตนสำคัญกว่าประโยชน์ของทางราชการ
2. ข้าราชการไม่รับผิดชอบงานในอำนาจหน้าที่และไม่มีวินัยในการปฏิบัติงาน
3. ข้าราชการเห็นว่าเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
4. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง
|  6 |  2 | 1. งานในความรับผิดชอบไม่บรรลุผลสำเร็จ
2. งานไม่มีประสิทธิภาพ
3. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
4. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
5. ประชาชนได้รับบริการที่ไม่มีคุณภาพอย่างที่ควรจะเป็น | - | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก.เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |