- ประเภทความเสี่ยง :: อุทกภัย 2
- อัคคีภัย 12
- แผ่นดินไหว 1
- ขยะ 2
- น้ำอุปโภคและน้ำเสีย 2
- มลพิษทางอากาศ 1
- ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5
- โรคระบาด 3
- การก่อการร้าย 1
- ความขัดแย้งฯ 1
- การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ 8
- ด้านเศรษฐกิจ 3
- ความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์ 3
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) 29
- ความเสี่ยงด้านการเงิน 11
- ความเสี่ยงด้านกฎหมาย 2
>> ข้อมูลทะเบียนความเสี่ยง กทม. :: อัคคีภัย
Showing 1-12 of 12 items.
# | แบ่งกลุ่ม ESG | ประเภท ความเสี่ยง | No. | ความเสี่ยง (Risk) | ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) | ความเสี่ยงที่มี | ความเสี่ยงที่คงเหลือ | ผลกระทบภายใน (Internal Impact) | ผลกระทบภายนอก (External Impact) | โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ) | โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ) | หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.1 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 1) สภาพปัญหาการจราจรติดขัดโดยเฉพาะในชั่วโมงเร่งด่วน | ![]() 25 | ![]() 16 | 1. เข้าถึงพื้นที่เกิดเหตุล่าช้า อาจทำให้เพลิงไหม้เกิดการติดต่อลุกลามและขยายวงกว้างมากขึ้นทำให้ยากแก่การควบคุมซึ่งอาจสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมาก | 1. การควบคุมไฟล้าช้าอาจสร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเป็นจำนวนมาก | 25 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
2 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.2 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 2) สภาพซอยคับแคบ มีสิ่งกีดขวาง เช่น กันสาด แผงลอย ทำให้รถดับเพลิงเข้าถึงจุดเกิดเหตุไม่ได้นอกจากนี้ ผู้ค้าหาบเร่แผงลอยย้ายจากถนนสายหลักไปขายในซอยมากขึ้น | ![]() 16 | ![]() 6 | 1. เมื่อถึงพื้นที่เกิดเหตุช้าอาจทำให้เพลิงไหม้เกิดการติดต่อลุกลามและขยายวงกว้างขึ้นทำให้ยากแก่การควบคุม | 1. ความล่าช้าในการเข้าที่เกิดเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น 2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
3 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.3 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 3) การแจ้งข้อมูลจากผู้ประสบเหตุไม่ชัดเจน ไม่ถูกต้อง และผิดช่องทาง | ![]() 9 | ![]() 2 | ๑. ทำให้จัดเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือในการเข้าระงับเหตุไม่เหมาะสม | 1. ความล่าช้าในการเข้าที่เกิดเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
4 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.4 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 4) เจ้าหน้าที่ประจำอาคารที่เกิดเหตุไม่มาประสานให้ข้อมูล | ![]() 12 | ![]() 8 | การระงับเหตุล่าช้ามีความเสียหายเพิ่มมากขึ้น | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น 2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
5 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.5 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 5) ขาดการควบคุมในพื้นที่เกิดเหตุ | ![]() 15 | ![]() 10 | ทำให้เข้าถึงพื้นที่เกิดเหตุได้ยากและเป็นอุปสรรคต่อการช่วยเหลือผู้ประสบภัย | 1.โอกาสได้รับการช่วยเหลือของผู้ประสบภัยมีน้อยลง | 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 10 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
6 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.6 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 6) แหล่งน้ำประปามีสิ่งกีดขวาง เช่นจอดรถยนต์ดึงเบรคมือ หรือจอดรถเข็นร้านขายอาหารคร่อมประปาหัวแดง | ![]() 12 | ![]() 8 | การระงับเหตุล่าช้ามีความเสียหายเพิ่มมากขึ้น | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
7 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.7 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 7) เส้นทางที่เกิดเหตุเพลิงไหม้เป็นซอยที่มีสายไฟฟ้า สายโทรศัพท์ สายเคเบิลที่มีความสูงหรือต่ำกว่ารถดับเพลิงเป็นอุปสรรคในการ เข้าระงับเหตุ | ![]() 12 | ![]() 9 | รถดับเพลิงเข้าที่เกิดเหตุได้ล่าช้าเนื่องจาก ติดสายไฟ สายโทรศัพท์ | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
8 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.8 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 8) หน่วยอาสาสมัครและเจ้าหน้าที่ต่างฝ่ายต่างปฏิบัติหน้าที่ ไม่มีเอกภาพเนื่องจากไม่ทราบว่าใครเป็นผู้บังคับบัญชาการเหตุการณ์ และมีอาสาจากหลายหน่วยและหลายพื้นที่ไม่เคยประสานงานกันมาก่อน รวมถึงหัวหน้าผู้ควบคุมแต่ละกลุ่มขาดการประสานกันเพราะไม่รู้จักกัน | ![]() 12 | ![]() 8 | เกิดความสับสนในการปฏิบัติงานทำให้ไม่สามารถระงับเหตุได้อย่างทันท่วงที เกิดความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินจำนวนมาก | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
9 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.1.9 | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก | 9) สภาพอาคาร เก่า ดัดแปลงและใช้งานผิดประเภทเนื่องจากเจ้าของอาคารขนาดใหญ่อาคารสูง ตึกแถว อาคารพาณิชย์ดัดแปลงอาคารในภายหลัง และใช้งานไม่ตรงตามวัตถุประสงค์และกฎหมายที่กำหนด เช่น ดัดแปลงเป็นห้องเช่าจำนวนหลายห้อง ทำให้ใช้ไฟฟ้าเกินขนาด สร้างห้องเก็บของที่มีสิ่งของจำนวนมากเกะกะขวางทางและเป็นเชื้อเพลิงอย่างดี ฯลฯ ตลอดจนไม่บำรุงรักษาอาคารให้อยู่ในสภาพที่ดี | ![]() 16 | ![]() 6 | 1. เมื่อเกิดเหตุจะเพิ่มความรุนแรงเช่น อาคารพาณิชย์ที่ดัดแปลงเป็นห้องพักให้เช่าจำนวนหลายห้อง ความเสียหายจะเกิดกับคนจำนวนที่มากขึ้น 2. ยากต่อการควบคุมเพลิง ทำให้ระงับเหตุได้ช้าลง ความเสียหายเพิ่มขึ้น | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น 2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
10 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.2 | 2.2 มีผู้ลอบวางเพลิงในที่สาธารณะหรือที่ส่วนตัว และที่รกร้างว่างเปล่า เช่น เผาหญ้าขยะ | 1) ประชาชนไม่คำนึงถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกระทำดังกล่าว | ![]() 10 | ![]() 5 | 1. บุคลากรของกรุงเทพมหานครเสี่ยงอันตราเพิ่มขึ้น และมีภาระหน้าที่เพิ่มขึ้น | 1. ลุกลามติดอาคารบ้านเรือนของประชาชน2. ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเช่น ควันพิษ เขม่า โลกร้อน ฯลฯ(มลพิษทางอากาศ) | 10 | ระดับความเสี่ยงสูง | 5 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
11 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.3 | 2.3 ยานพาหนะ เครื่องจักร วัสดุ และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานชำรุด และไม่พร้อมใช้งาน | 1) ใช้งานเครื่องมือและอุปกรณ์เหล่านั้นมานานหลายสิบปี ทำให้เสื่อมสภาพ เช่น หม้อลมของรถที่เก็บลมไม่อยู่ ระบบเบรคชำรุด วิทยุสื่อสารเสีย ฯลฯ และเมื่อส่งซ่อมก็ใช้เวลานานหรือซ่อมไม่ได้ เพราะไม่มีอะไหล่ | ![]() 15 | ![]() 9 | 1. ประสิทธิภาพในการดับเพลิงลดลง 2. เสียค่าใช้จ่ายในการจ้างผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ (รถยุโรป)ในการดูแลและซ่อมแซม 3. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานขาดขวัญและกำลังใจที่ดีในการปฏิบัติงาน ไม่มีความมั่นใจ 4. เมื่อรถดับเพลิงเกิดอุบัติเหตุอาจจะทำให้ผู้ปฏิบัติงานถูกสอบวินัย จ | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 15 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
12 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | อัคคีภัย | 2.4 | 2.4 งบประมาณ สวัสดิการและกำลังคน ไม่เพียงพอกับการปฏิบัติงาน | 1) เจ้าหน้าที่มีงานรับผิดชอบหลายด้าน ทั้งงานรักษาการณ์ เข้าเวรประจำ งานปฏิบัติการงานกู้ภัยงานสาธารณภัย ฯลฯ และบางคนขอย้ายกลับภูมิลำเนาในต่างจังหวัดสวัสดิการที่มีไม่จูงใจเพียงพอที่จะอยู่ปฏิบัติงานกับกรุงเทพมหานครนอกจากนี้ อัตรากำลังของเจ้าหน้าที่ยังไม่สัมพันธ์กับขนาดพื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบการจัดสรรเจ้าหน้าที่มาบรรจุทดแทนมีความล่าช้า มีตำแหน่งว่างนานมาก | ![]() 16 | ![]() 9 | 1. ประสิทธิภาพในการทำงานช้าลง การระงับเหตุล่าช้าความเสียหายเพิ่มมากขึ้น 2. เจ้าหน้าที่ขาดขวัญกำลังใจและมีภารกงานเพิ่มขึ้นเกิดWork Load | (not set) | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
