- ประเภทความเสี่ยง :: อุทกภัย 2
- อัคคีภัย 12
- แผ่นดินไหว 1
- ขยะ 2
- น้ำอุปโภคและน้ำเสีย 2
- มลพิษทางอากาศ 1
- ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5
- โรคระบาด 3
- การก่อการร้าย 1
- ความขัดแย้งฯ 1
- การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ 8
- ด้านเศรษฐกิจ 3
- ความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์ 3
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) 29
- ความเสี่ยงด้านการเงิน 11
- ความเสี่ยงด้านกฎหมาย 2
>> ข้อมูลทะเบียนความเสี่ยง กทม. :: ขยะ
Showing 1-2 of 2 items.
# | แบ่งกลุ่ม ESG | ประเภท ความเสี่ยง | No. | ความเสี่ยง (Risk) | ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) | ความเสี่ยงที่มี | ความเสี่ยงที่คงเหลือ | ผลกระทบภายใน (Internal Impact) | ผลกระทบภายนอก (External Impact) | โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ) | โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ) | หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | ขยะ | 4.1 | 4.1 ปริมาณขยะที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้มีปริมาณสูง และต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการกำจัด | 1. จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการบริโภคและการสร้างขยะ
2. พฤติกรรมและวัฒนธรรส่งผลต่อปัญหาขยะล้นเมือง
3. ระบบกำจัดขยะยังเหมาะสมกับการจัดการขยะแยกประเภท ไม่สามารถเก็บขยะไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของขยะแต่ละประเภทได้
4. มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการรีไขเคิล และการคัดแยกขยะ และการเรียกคืนบรรจุภัณฑ์ของผู้ประกอบการ ยังไม่ชัดเจน
5. ระบบคัดแยกมูลฝอยไม่สัมพันธ์กับระบบการเก็บขน ขนส่ง และเทคโนโลยีการกำจัด
6. ระบบการขัดแยกและนำขยะกลับไปใช้ปะโยชน์ในปัจจุบัน เป็นการคัดแยกตามความสมัครใจ ซึ่งมาตรการของรัฐในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนผู้บริโภคคัดแยกขยะ ไม่เพียงพอ ขาดความต่อเนื่อง | ![]() 20 | ![]() 12 | 1. ปริมาณขยะจำนวน 10,000 ตันต่อวัน จะตกค้างหากระบบการขนส่งขยะหยุดลง และและทำให้การกำจัดขยะมีความยากลำบากและล้าช้ามากขึ้น 2. ภาระค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บและกำจัดขยะค่อนข้างสูง | 1. ขยะจะตกค้างในบ้านเรือนและในรถเก็บขนมูลฝอย ซึ่งจะส่งกลิ่นเหม็น ทัศนอุจาด และเกิดการแพร่กระจายของพาหะนำโรคและและเชื้อโรค ส่งผลต่อสุขภาพกายแลจิตใจของประชาชน 2. ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดผลพิษทั้งทาง น้ำ ดินและอากาศ เนื่องจากขยะส่วนที่ขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นำมกำจัดให้ถูกวิธี จะทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เป็นมลพิษ ปี พ.ศ. 2566 กรงุเทพมหานครมีปริมาณขยะที่ไม่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ 8,808 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 69.09 ของปริมาณขยะทั้งหมด 12,780 ตัน/วัน | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | หน่วยงานหลัก ๑. สำนักสิ่งแวดล้อม๒. สำนักอนามัย๓. สำนักเทศกิจ๔. สำนักงานเขต๕. กรมควบคุมมลพิษ๖. กรมโรงงานอุตสาหกรรม |
2 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | ขยะ | 4.2 | 4.2 สารเคมีและวัตถุอันตรายรั่วไหลหรือเกิดเพลิงไหม้หรือระเบิดระหว่างการใช้ บรรจุ ขนส่งและการเก็บรักษา | 1) ผู้รับผิดชอบไม่ระมัดระวัง หรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างการขนส่ง การใช้บรรจุ และเก็บรักษา นอกจากนี้ยังมีการลักลอบขนถ่ายสารอันตรายและขยะอันตรายในที่สาธารณะหรือในสถานประกอบการ
วัตถุประสงค์ของการจัดการความเสี่ยง 1) เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบต่อสุข | ![]() 12 | ![]() 9 | การรั่วไหลของสารเคมี และวัตถุอันตรายมีความเข้มข้นของสารเคมีและวัตถุอันตรายสูงเกิดเหตุเพลิงไหม้และระเบิด จนเกินศักยภาพในการควบคุมของกรุงเทพมหานคร | 1. กระทบต่อสุขภาพและชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน 2. ส่งผลเสียต่อภาพลักษณ์ของกรุงเทพมหานคร | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | หน่วยงานหลัก๑. ศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจ กทม.๒. สำนักสิ่งแวดล้อม ๓. สำนักอนามัย ๔. สำนักการโยธา ๕. สำนักงานเขต หน่วยงานสนับสนุน ๑. โรงพยาบาลในสังกัดกทม.๒. ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. ๓. ศปภ.กทม. และศปภ.เขต ๔. สถานีตำรวจ ๕. กรมควบคุมมลพิษ ๖. กรมโรงงานอุตสาห |
