Showing 1-2 of 2 items.
#แบ่งกลุ่ม ESGประเภท ความเสี่ยงNo.ความเสี่ยง (Risk)ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)ความเสี่ยงที่มีความเสี่ยงที่คงเหลือ ผลกระทบภายใน (Internal Impact) ผลกระทบภายนอก (External Impact)โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
 
1E (environment)- สิ่งแวดล้อมน้ำอุปโภคและน้ำเสีย5.15.1 แหล่งน้ำดิบสำหรับผลิตน้ำประปาได้รับการปนเปื้อน
1) ประชาชนลักลอบทิ้งสารเคมีและวัตถุอันตรายใกล้คลองประปาทิ้งของเสีย ขยะ ใกล้แหล่งน้ำต่าง ๆ และถูกชะลงไปในแหล่งน้ำ การเลี้ยงสัตว์ใกล้แหล่งน้ำ โรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้ำเสียที่ไม่ได้รับการบำบัดลงในแหล่งน้ำ เกิดภาวะน้ำท่วมไหลทะลักเข้าไปในคลองประปา รถขนส่งสารเคม

8

4
1. คุณภาพน้ำและน้ำใต้ดินที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคอาจปนเปื้อนโลหะหนัก กรุงเทพมหานครและมีต้นทุนในการฟื้นฟูแหล่งน้ำ1. คุณภาพน้ำและน้ำใต้ดินที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคอาจปนเปื้อนโลหะหนัก ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนนอกจากนั้น ยังส่งผลต่อระบบนิเวศน์ พืช สัตว์ และห่วงโซ่อาหาร8ระดับความเสี่ยงสูง4ระดับความเสี่ยงปานกลาง - สำนักสิ่งแวดล้อม 1 สำนักการระบายน้ำ 2. สำนักอนามัย 3. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 4. สำนักการโยธา 5. สำนักงานเขต 6. สำนักการแพทย์ 7. สำนักเทศกิจ ๘. สำนักผังเมือง ๙. โรงพยาบาล (กทม.) ๑๐. ศปภ.กทม. และเขต ๑๑. ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. หน่วยงานที่เกี่
2E (environment)- สิ่งแวดล้อมน้ำอุปโภคและน้ำเสีย5.25.2 การปนเปื้อนในดินและแหล่งน้ำบริเวณผิวดิน ทำให้เกิดปัญหาน้ำเสียในแหล่งน้ำและน้ำใต้ดิน
1) ประชาชนลักลอบทิ้งสารเคมีและวัตถุอันตราย ขยะมูลฝอย กากไขมันขยะติดเชื้อ และสิ่งปฏิกูลใกล้กับแหล่งน้ำ สารเคมีในการเกษตร การเผาขยะ น้ำเสียจากโรงงาน ไหลลงสู่แหล่งน้ำและน้ำใต้ดินโดยไม่ผ่านการบำบัดซึ่งเป็นเพราะประชาชนขาดความเข้าใจ ขาดจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อส

6

2
1. คุณภาพน้ำและน้ำใต้ดินที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคอาจปนเปื้อนโลหะหนัก กรุงเทพมหานครต้องใช้ทรัพยากร ในการบำบัดและมีต้นทุนในการฟื้นฟูแหล่งน้ำ1. ผลที่เกิดจากความเสี่ยงจะส่งผลต่อคุณภาพน้ำที่ใช้ในการอุปโภคบริโภคที่อาจปนเปื้อนโลหะหนักส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยตรงนอกจากนั้น ยังส่งผลต่อระบบนิเวศน์ พืช สัตว์ และห่วงโซ่อาหาร และส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรอบแหล่งน้ำ6ระดับความเสี่ยงปานกลาง2ระดับความเสี่ยงต่ำหน่วยงานหลัก ๑. สำนักสิ่งแวดล้อม ๒. สำนักป้องกันฯ ๓. สำนักอนามัย ๔. สำนักงานโยธา ๕. สำนักการระบายน้ำ ๖. สำนักงานเขต หน่วยงานสนับสนุน ๑. โรงพยาบาลสังกัด กทม. ๒. ศูนย์บริการสาธารณสุข ๓. ศปภ.กทม. และเขต ๔. สถานีตำรวจ ๕. กรมควบคุ