Showing 1-1 of 1 item.
#แบ่งกลุ่ม ESGประเภท ความเสี่ยงNo.ความเสี่ยง (Risk)ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)ความเสี่ยงที่มีความเสี่ยงที่คงเหลือ ผลกระทบภายใน (Internal Impact) ผลกระทบภายนอก (External Impact)โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
 
1E (environment)- สิ่งแวดล้อมมลพิษทางอากาศ 6มลพิษทางอากาศและเสียงเกินค่ามาตรฐานฝุ่นขนาดเล็ก (PM2.5) เกินค่ามาตรฐาน
1) ยานพาหนะที่ไม่ได้มาตรฐาน เช่น รถยนต์เรือ ฯลฯ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ อาทิ ควันดำ ฝุ่นขนาดเล็ก PM10, PM2.5 2) การก่อสร้างอาคาร ใช้รถบรรทุกรถขนส่งคนงาน ฯลฯ ทำให้เกิดฝุ่นละออง 3) โรงงานอุตสาหกรรม/สถานประกอบการปล่อยมลพิษทางอากาศ 4) การเกิดเหตุไฟไหม้หญ้าขยะปล่อยมลพิษโดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดเล็ก 5) ฌาปนสถานปล่อยมลพิษทางอากาศ 6) กิจการค้าที่เป็นอันตราย อาทิ กิจการแพลนท์ปูน กิจการพ่นสีรถยนต์ กิจการหลอมโลหะ ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ วัตถุประสงค์ของการจัดการความเสี่ยง 1) เพื่อป้องกันและบรรเทาผลกระทบต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนพื้นที่ประสบภัยได้อย่างรวดเร็ว 2) เพื่อกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างชัดเจน

20

9
1. มลพิษทางอากาศและเสียงในพื้นที่ที่มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นและไม่จำกัดขอบเขตขอบปัญหาได้อย่างัดเจน ไม่สามารถควบคุมต้นตอปัญหาได้ ทำให้การแก้ไขปัญหาของกรุงเทพมหานครทำได้ยากขึ้นและเกิดข้อร้องเรียนหรือข้อพิพาทจากภาคประชาชนมากขึ้น 1. การเพิ่มขึ้นของมลพิษทางอากาศเกินมาตรฐานเป็นระยะเวลานาน จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่นั้นโดยตรงทั้งโรคภัยที่เกิดขึ้น ความสามารถในการทำงานลดลง ระบบเศรษฐกิจที่ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการบำบัดรักษา และสูญเสียความสามารถในการหารายได้ของประชาชนตลอดจนส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวและคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชน20ระดับความเสี่ยงสูงมาก9ระดับความเสี่ยงสูงหน่วยงานหลัก ๑. สำนักสิ่งแวดล้อม ๒. สำนักป้องกันฯ ๓. สำนักอนามัย ๔. สำนักการโยธา ๕. สำนักเทศกิจ ๖. สำนักงานเขต ๗. สำนักงานประชาสัมพันธ์