Showing 1-5 of 5 items.
#แบ่งกลุ่ม ESGประเภท ความเสี่ยงNo.ความเสี่ยง (Risk)ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor)ความเสี่ยงที่มีความเสี่ยงที่คงเหลือ ผลกระทบภายใน (Internal Impact) ผลกระทบภายนอก (External Impact)โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ)โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ)ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ)หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner)
 
1S (social)-สังคมความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน7.17.1 เกิดอาชญากรรม
สถานที่เปลี่ยว ลับตาคน มืดสลัวไม่มีแสงสว่างเพียงพอ ไม่ค่อยมีผู้คนสัญจรไปมา ที่รกร้าง อาคารร้าง หน้าสถานศึกษา สถานบันเทิงป้ายรถประจำทาง ห้างสรรพสินค้า สวนสาธารณะ

5

4
1. กรุงเทพมหานครและภาครัฐไม่สามารสร้างควรปลอดภัยให้กับประชาชนและไม่สามารถและไม่ได้รับความเชื่อมมั่นจากประชาชน
2. กรุงเทพมหานคร และภาครัฐสูญเสียทรัพยากร และมีภาระงานในการแก้ไขปัญหาเพิ่มขึ้น
3. เกิดผลกระทบกับประเทศเศรษฐกิจ สูญเสียรายได้จากการท่องเที่ยว ปัญหาสังคม และการเมือง
1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บเสียชีวิต หวาดกลัว รู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินไม่เชื่อมั่นในระบบรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
สถิติการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี 2565 ความผิดต่อชีวิตร่างกาย 2,363 กรณีควาผิดต่อทรัพย์ 8,047 กรณี
รวม 10,410 กรณี คิดเป็นร้อยละ 15.74 ของประเทศที่ 66,125 กรณี
5ระดับความเสี่ยงปานกลาง4ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้
2S (social)-สังคมความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน7.27.2 เกิดอุบัติเหตุทางการจราจรในพื้นที่กรุงเทพ
1) มีปริมาณรถจำนวนมาก 2) มีผู้ค้าจำหน่ายสินค้าบนผิวจราจรและทางเท้า 3) ผู้ขับขี่ขาดวินัยจราจรไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร

16

4
1. กรุงเทพมหานครไม่สามารถจัดการจราจร และสร้างความคล่องตัวในการเดินทางในช่วงเวลาดังกล่าวได้
2. ส่งผลกระทบกับการเรียนการสอน และการดูแลความปลอดภัยให้กับนักเรียนบริเวณหน้าโรงเรียน
1. จราจรติดขัด เสียเวลาเดินทาง
2. เกิดความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน
จากรายงานสถิติจราจร ปี 2565
สถิติอุบัติเหตุทางจราจรของ กทม.มี 31,122 คดี คิดเป็นร้อยละ 49.50
ของจำนวนอุบัติเหตุทั้งหมดของประเทศ 62,869 คดี มีผู้เสียชีวิต 490 ราย บาดเจ็บสาหัส 869 ราย
16ระดับความเสี่ยงสูงมาก4ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้
3S (social)-สังคมความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน7.37.3 เกิดอุบัติเหตุที่เกี่ยวกับระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น ท่อประปาแตก ไฟฟ้ารั่ว ฯลฯ
1) ระบบสาธารณูปโภคมีสภาพไม่ดีไม่พร้อมใช้งาน ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยและชำรุด เพราะขาดการบำรุงรักษา อย่างจริงจังและต่อเนื่อง

9

4
1. การสื่อสารขัดข้อง เช่นสายเคเบิล สายโทรศัพท์ ฯลฯ ชำรุดเสียหายส่งผลกระทบต่อการทำงาน
2. ต้องเสียงบประมาณในการซ่อมแซม และแก้ไขผลกระทบที่เกิดขึ้น
1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บเสียชีวิต และทรัพย์สินได้รับความเสียหาย
2. การจราจรติดขัด
3. เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ
9ระดับความเสี่ยงสูง4ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้
4S (social)-สังคมความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน7.47.4 เกิดอุบัติเหตุจากโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่
1) ไม่มีมาตรการและมาตรฐานความปลอดภัยในการก่อสร้างที่ดี ขาดการตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอและจริงจัง

5

3
1. กรณีเกิดในการก่อสร้างภาครัฐทำให้งานก่อสร้างมีความล่าช้า
2. กรุงเทพมหาครต้องสูญเสียงบประมาณเพิ่มในการการ่อสร้างและการแก้ไขปัญหา
1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บและเสียชีวิต
2. ทรัพย์สินของประชาชนได้รับความเสียหาย

จากรายงานสุขภาพคนไทยปี 2567 พบว่า ในปี 2562 มีการเกิดอุบัติเหตุจากการก่อสร้างทั้งสิ้น 11,599 กรณี คิดเป็นร้อยละ 12 จากอุบัติเหตุทั้งหมด 94,906 กรณี ต่อวัน และมีผู้เสียชีวิตจากการก่อสร้าง 186 คน จากผู้เสียชีวิต 639 คน คิดเป็นร้อยละ 29
5ระดับความเสี่ยงปานกลาง3ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้
5S (social)-สังคมความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน7.57.5 เกิดอุบัติเหตุในระบบขนส่งสาธารณะ
1) ผู้ใช้รถใช้ถนน/ ขนส่งสาธารณะขาดวินัย ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายจราจรกฎหมายอื่น ๆ และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง

8

6
1. ทรัพย์สินของทางราชการได้รับความเสียหาย
2. กรุงเทพมหานคร/หน่วยงานต้องรับผิดชอบชดใช้ให้คู่กรณี หรือเข้าสู่กระบวนการต่อสู้คดีทางศาล
3. ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในระบบขนส่งมวลชน
1. ประชาชนได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต
2. ประชาชนสูญเสียทรัพย์สิน
3. การเดินทางไม่สะดวกจากรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติจราจรทางบกปี 2564 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีจำนวนรถขนส่งสาธารณะที่เกิดอุบัติเหตุ จำนวน 1,551 คัน เฉลี่ยวันละ 4 ถึง 5 คัน สูงเป็น อันดับหนึ่ง ของประเทศ คิดเป็นร้อยละ 31.91 จากอุบัติเหตุในระบบขนส่งสาธารณะทั้งหมด 4,860 คัน
8ระดับความเสี่ยงสูง6ระดับความเสี่ยงปานกลางเจ้าภาพหลัก : - สำนักเทศกิจ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการจราจรและขนส่ง 2. สำนักการโยธา 3. สำนักสิ่งแวดล้อม 4. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 5. สำนักเทศกิจ 6. สำนักอนามัย 7. สำนักงานเขต หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายนอก : 1. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2. เจ้