- ประเภทความเสี่ยง :: อุทกภัย 2
- อัคคีภัย 12
- แผ่นดินไหว 1
- ขยะ 2
- น้ำอุปโภคและน้ำเสีย 2
- มลพิษทางอากาศ 1
- ความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5
- โรคระบาด 3
- การก่อการร้าย 1
- ความขัดแย้งฯ 1
- การเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์ 8
- ด้านเศรษฐกิจ 3
- ความเสี่ยงเชิงยุทธศาตร์ 3
- ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk) 29
- ความเสี่ยงด้านการเงิน 11
- ความเสี่ยงด้านกฎหมาย 2
>> ข้อมูลทะเบียนความเสี่ยง กทม. :: โรคระบาด
Showing 1-3 of 3 items.
# | แบ่งกลุ่ม ESG | ประเภท ความเสี่ยง | No. | ความเสี่ยง (Risk) | ปัจจัยความเสี่ยง (Risk Factor) | ความเสี่ยงที่มี | ความเสี่ยงที่คงเหลือ | ผลกระทบภายใน (Internal Impact) | ผลกระทบภายนอก (External Impact) | โอกาสที่เกิด x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่มี (*คำนวณ) | โอกาสที่เหลือ x ผลกระทบ (*คำนวณ) | ระดับความเสี่ยงที่เหลือ (*คำนวณ) | หน่วยงานจัดการความเสี่ยง (Risk Owner) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | S (social)-สังคม | โรคระบาด | 8.1 | โรคระบาด | 1) ในภาวะน้ำท่วมขังมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดของโรคติดต่อได้ โดยเฉพาะขณะน้ำท่วมและหลังน้ำลด เช่น โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง อุจจาระร่วง ฉี่หนู ฯลฯ | ![]() 9 | ![]() 4 | 1. ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อระบบสุขาภิบาลน้ำ อาหารและะชาชนสิ่งแวดล้อมไม่ดี กรุงเทพมหานครต้องวางมาตรการดูแลเพิ่มขึ้น 2. เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อทั้งในพื้นที่และในวงกว้างและกรุงเทพมหานครเกินทรัพยากรและศักยภาพในการดูแลของกรุงเทพมหานคร 3. เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ และภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของ กทม. | 1. ประชาชนที่มีการเจ็บป่วยอาจมีอาการรุนแรงเพิ่มขึ้นทำให้เสียชีวิตได้ 2. ประชาชนมีความกังวลและเกิดภาวะเครียด | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักอนามัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : 1. สำนักการแพทย์ 2. สำนักสิ่งแวดล้อม 3. สำนักงานเขต 4. สำนักการศึกษา 5. สำนักงบประมาณ 6. สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 7. สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล 8. สำนักการคลัง |
2 | S (social)-สังคม | โรคระบาด | 8.2 | โรคระบาด | 2) การเคลื่อนย้ายประชากรสูง เนื่องจากมีช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่สะดวก หลายช่องทางได้แก่ ท่าเรือกรุงเทพฯ (คลองเตย) ท่าอากาศยานดอนเมือง และ
ท่าอากาศยาน อีกทั้ง กรุงเทพฯยังเป็น ศูนย์กลางคมนาคม และการค้าขายเป็นประจำ ซึ่งอาจนำโรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคติดต่อที่อุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดนก ไข้หวัดใหญ่ โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือเมอร์ส โรคที่มาจากสัตว์นำโรค เช่น โรคฉี่หนู กาฬโรคปอด
โรคไวรัส ซิการ์ ฯลฯ เข้ามาระบาดได้ | ![]() 20 | ![]() 9 | 1. ความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของประเทศ 2. ขาดความเชื่อมั่นในการลงทุนทางเศรษฐกิจ 3. สถานที่ เครือข่ายสื่อสารและระบบคอมพิวเตอร์ได้รับความเสียหาย | 1. ประชาชนเกิดความหวาดกลัวได้รับบาดเจ็บ เสียชีวิต และมีผลต่อสุขภาพจิต 2. ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและรัฐได้รับความเสียหาย | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | สปภ |
3 | S (social)-สังคม | โรคระบาด | 8.3 | โรคระบาด | 3) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรค เช่น โรคไข้หวัดนกเกิดจากการอพยพของนกในฤดูหนาว โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง เป็นต้น | ![]() 9 | ![]() 4 | 1. มีโอกาสเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่และวงกว้างและไม่สามารถจำกัดขอบเขตของการแพร่ระบาดได้ 2. ระบบสาธารณสุขไม่เพียงพอต่อการรักษา หรือให้ภูมิคุ้มกันแต่ประชาชน | 1. ประชาชนเกิดการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น 2. ประชาชนที่เกิดการเจ็บป่วยอาจมีอาการรุนแรง และทำให้เสียชีวิตได้ 3. ประชาชนมีความกังวลและตื่นตระหนก 4. เกิดผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ และภาพลักษณ์ของประเทศ | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักอนามัย |
