61 | (not set) | (not set) | 14.1.10 การถูก Black List โดยอุปกรณ์ป้องกันการบุกรุกเครือข่าย (Firewall) จากหน่วยงาน ต่าง ๆ
| 1) มีการเก็บข้อมูลหมายเครื่อง(Ip Address) ที่ก่อให้เกิดปัญหาในระบบอินเทอร์เน็ต จากผู้ผลิตอุปกรณ์ป้องกันการบุกรุกเครือข่าย(Firewall)
2) เครื่องลูกข่ายมีการส่งข้อมูล(Packet) ที่ไม่พึงประสงค์ ไปยังระบบอินเทอร์เน็ตอย่างผิดปกติ
|  2 |  1 |  1 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. หน่วยงานจะไม่สามารถเข้าใช้งานระบบสารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้
2. จะไม่สามารถให้บริการต่อประชาชนได้ | (not set) | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
62 | (not set) | (not set) | 14.1.11 เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอต่อการใช้งานและเครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีสภาพเก่าชำรุดและเสียบ่อย
| 1) กรุงเทพมหานครมีทรัพยากรจำกัด จึงอาจจะทำให้บางหน่วยงานไม่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสำหรับจัดซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์
2) แนวทางหลักเกณฑ์การจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ไม่ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับลักษณะงานในปัจจุบัน
3) หน่วยงานไม่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานระหว่างการยุบสภาพเครื่องเดิมและจัดหาเครื่องทดแทน
4) ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์สำรองสำหรับให้หน่วยงานยืมใช้งานมีจำนวนไม่เพียงพอ
|  9 |  1 |  8 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. เกิดความล่าช้าในการปฏิบัติงาน
2. ภาพลักษณ์ขององค์กรไม่ทันสมัย
3. เครื่องคอมพิวเตอร์เดิมใช้งานมาเป็นระยะเวลานานจึงเสื่อมสภาพ เสียบ่อย และไม่รองรับการปฏิบัติงานโปรแกรมสมัยใหม่
4 ไม่สามารถปฏิบัติงานได้
5. ขาดประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ทุกหน่วยงาน |
63 | (not set) | (not set) | 14.2.1 แผนบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ. 2561-2565) ไม่ตอบสนองภารกิจของกรุงเทพมหานคร และมีความล่าช้า
| 1) การเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลในองค์กรหรือภารกิจใหม่ที่ได้รับมอบหมายเพิ่มขึ้น อาจทำให้แผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครไม่ทันสมัย ล่าช้าและไม่ตรงกับบริบทในอนาคต
2) กำหนดตัวชี้วัดในแผนฯ จำนวนมาก หลากหลาย และยากต่อการนำไปปฏิบัติ
|  2 |  1 |  1 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์บริหารทรัพยากรบุคคลฯ อาจไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งไม่สามารถตอบสนองภารกิจของกรุงเทพมหานครได้
2. การเสนอขอจัดสรรงบประมาณในการดำเนินการอาจไม่สอดคล้องกับแผนฯเนื่องจากต้องเสนอขอจัดสรรงบประมาณก่อนแผนฯ จะประกาศใช้ | (not set) | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | 1 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. - สำนักงานการเจ้าหน้าที่ สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร - สถาบันพัฒนาข้าราชการกทม. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนัก สำนักงาน และสำนักงานเขต - สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล |
64 | (not set) | (not set) | 14.2.2 มีกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจำนวนมากและกฎหมายหลายฉบับมีความล้าสมัย ไม่เป็นปัจจุบัน
| 1) การดำเนินงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลจำเป็นต้องมีกฎหมายระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ รองรับ
2) การปฏิบัติงานในชีวิตประจำวันจำเป็นต้องมีแนวทางที่ชัดเจนเพื่อมิให้เกิดข้อขัดแย้ง
3) การตีความตัวบทกฎหมายของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เข้าใจไม่ตรงกัน
|  6 |  2 |  4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การปฏิบัติงานด้านดังกล่าวมีข้อผิดพลาด ไม่มีความชัดเจนและไม่มีแนวทางปฏิบัติที่ดี
2. ข้าราชการและบุคลากรบางส่วนต้องสูญเสียประโยชน์จากความผิดพลาดของการปฏิบัติที่สับสน | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | สกค สกก สนค |
65 | (not set) | (not set) | 15.5.10 การแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการอย่างไม่เป็นธรรมไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมและใช้ระบบอุปถัมภ์
| 1. การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา
2. ความทะเยอทะยานและความต้องการก้าวหน้าในตำแหน่ง
3. ระบบอุปถัมภ์ที่ไม่มีคุณธรรม
4. ระเบียบและกฎเกณฑ์ที่เปิดโอกาสให้ใช้ดุลยพินิจในการพิจารณา
5. ผู้กระทำผิดวินัยหรือกระทำทุจริตไม่ได้รับการลงโทษอย่างจริงจังและยังได้รับการส่งเสริมความก้าวหน้า
|  12 |  6 |  6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ส่งเสริมให้ข้าราชการที่ไม่มีความรู้ความสามารถเพียงพอได้ดำรงตำแหน่ง
2. การบริหารงานในตำแหน่งที่มีความสำคัญ อาจได้รับความเสียหาย ขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
3. ทำให้มีช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ โดยใช้อำนาจในทางที่มิชอบ
4. ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหาย
5. ข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถขาดโอกาสในการก้าวหน้าในตำแหน่ง
6. เป็นการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
66 | (not set) | (not set) | 15.5.3 การยักยอกเงินเช่น การเก็บค่าธรรมเนียมเก็บขนมูลฝอย ภาษีประเภทต่าง ๆ การใช้ใบเสร็จปลอม ฯลฯ
| 1. รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายประจำ จึงเป็นแรงกดดันให้ทำการ-ทุจริต (เงินเดือนและผลตอบแทนน้อยกว่าค่าครองชีพ)
2. ขาดการควบคุมและติดตามงานจากผู้บังคับบัญชาอย่างใกล้ชิดเนื่องจากไว้วางใจและติดภารกิจอื่น
3. ไม่มีมาตรการควบคุมการ-ดำเนินการที่รัดกุม เปิดโอกาสให้ข้าราชการทำทุจริตได้ เช่น ไม่ควบคุมการเบิกและรักษาใบเสร็จ
4. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าว
5. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม
6. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าวเพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
7. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต
8. กระแสวัตถุนิยม
9. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีหนี้สิน ฯลฯ
10. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
11. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง
|  8 |  4 |  4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. รายได้ของกรุงเทพมหานครไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หรือประมาณการ
2. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
4. ต้องสรรหาข้าราชการหรือบุคลากรใหม่
5. สูญเสียงบประมาณในการนำมาพัฒนากรุงเทพมหานคร
6. งานขององค์กรได้รับความเสียหาย ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
| 1. ประชาชนได้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรรับบริการโดยไม่จำเป็น
2. ประชาชนได้รับการเหลื่อมล้ำในการขอรับบริการ | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักงาน กก |
67 | (not set) | (not set) | 15.5.7 การจ่ายเงินต่าง ๆ เช่น เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการฯลฯ ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม
| 1. ขาดการเชื่อมต่อระบบข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบเช่น ฝ่ายทะเบียนกับฝ่ายพัฒนาชุมชนของสำนักงานเขต ฯลฯ
2. ข้าราชการผู้รับผิดชอบไม่ปฏิบัติ หน้าที่อย่างเต็มกำลังความสามารถละเลย ไม่รอบคอบ
3. ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด
|  12 |  6 |  6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. สูญเสียงบประมาณโดยไม่เกิดประโยชน์กับประชาชนอย่างแท้จริง
2. ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหาย
3. ประชาชนได้รับเงินสวัสดิการต่าง ๆ อย่างไม่ถูกต้อง | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
68 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก
| 8) หน่วยอาสาสมัครและเจ้าหน้าที่ต่างฝ่ายต่างปฏิบัติหน้าที่ ไม่มีเอกภาพเนื่องจากไม่ทราบว่าใครเป็นผู้บังคับบัญชาการเหตุการณ์ และมีอาสาจากหลายหน่วยและหลายพื้นที่ไม่เคยประสานงานกันมาก่อน รวมถึงหัวหน้าผู้ควบคุมแต่ละกลุ่มขาดการประสานกันเพราะไม่รู้จักกัน
|  12 |  8 |  4 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | เกิดความสับสนในการปฏิบัติงานทำให้ไม่สามารถระงับเหตุได้อย่างทันท่วงที เกิดความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินจำนวนมาก | 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 8 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
69 | (not set) | (not set) | 15.5.6 การจัดการฝึกอบรม การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานที่ปฏิบัติไม่เหมาะสมและไม่ถูกต้อง
| 1. ข้าราชการที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการฝึกอบรม
2. เบิกจ่ายไม่ตรงกับจำนวนที่ระบุไว้ในโครงการ
3. ระยะเวลาการจัดฝึกอบรมสัมมนา และศึกษาดูงาน ไม่ตรงตามที่ระบุไว้ในโครงการ
4. การคัดเลือกผู้รับจ้างที่จัดสัมมนาหรือศึกษาดูงาน ไม่มีการแข่งขันด้านราคา
5. ข้าราชการผู้รับผิดชอบรู้จักและสนิทสนมกับผู้รับจ้าง โรงแรม และวิทยากร
6. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม
7. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน
8. ผู้บังคับบัญชาและข้าราชการร่วมมือกันทำทุจริต
9. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต
10. ค่าตอบแทนที่องค์กรให้ไม่เพียงพอกับค่าครองชีพ
11. ข้าราชการเห็นว่าเป็นเรื่องปกติ เคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
12. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง
|  20 |  12 |  8 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. การใช้จ่ายงบประมาณไม่คุ้มค่า
2. ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ
3. งานไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
4. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
5. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ) | (not set) | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
70 | (not set) | (not set) | 15.2 ด้านรายจ่ายการเบิกจ่ายของหน่วยงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
| 1) การจัดเก็บรายได้ในภาพรวมของกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มลดลงไม่สมดุลกับงบประมาณที่ตั้งไว้2.หน่วยงานไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินที่กำหนดไว้3.หน่วยงานภาครัฐมอบนโยบายและหรือถ่ายโอนภารกิจให้กทม.ดำเนินการแต่ขาดการสนับสนุนงบประมาณ
|  12 |  6 |  6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | - | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | สำนักการคลัง |
71 | (not set) | (not set) | 15.4 ด้านการบริหารสภาพคล่องระดับเงินคงคลังไม่เหมาะสมและเพียงพอต่อการบริหารสภาพคล่อง
| 1) บริหารงานการเงิน โดยขาดการวิเคราะห์ข้อมูลฐานะทางการเงินที่ถูกต้องเหมาะสม
|  9 |  4 |  5 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | (not set) | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี) |
72 | (not set) | (not set) | 15.5.2 การเรียกรับผลประโยชน์ เช่น การอนุมัติ อนุญาต การออกเอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ ฯลฯ
| 1. ขาดการควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด เนื่องจากหัวหน้างานมีภารกิจจำนวนมาก
2. การปฏิบัติงานมีหลายขั้นตอนและให้อำนาจใช้ดุลยพินิจเปิดโอกาสให้ข้าราชการใช้เป็นข้อต่อรองในการเรียกรับผลประโยชน์เพื่อแลกกับความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการ
3. ข้าราชการผู้ปฏิบัติงานมีแรงกดดันจากปัญหาส่วนตัวด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน หนี้สิน
4. ข้าราชการมีอำนาจเต็มที่
5. ขาดการหมุนเวียนงานของข้าราชการที่รับผิดชอบงานดังกล่าว
6. ข้าราชการมีความทะเยอทะยาน
7. กระแสวัตถุนิยมในสังคม
8. ข้าราชการรู้จักสนิทสนมและ
9. ผู้ค้าหรือผู้รับจ้างเสนอผลประโยชน์ให้กับข้าราชการ
10. ข้าราชการใช้อำนาจหน้าที่ในทางที่มิชอบ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับผู้ค้าหรือผู้รับจ้าง
11. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม บังคับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ดำเนินการที่เข้าข่ายการทุจริต
13. ผู้บังคับบัญชาร่วมมือกับข้าราชการที่รับผิดชอบ เพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
14. องค์กรให้ค่าตอบแทนที่ไม่เพียงพอกับการครองชีพ
15. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
16. ไม่เคยเห็นผู้ที่ทำทุจริตได้รับโทษ
|  12 |  6 |  6 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
2. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
3. องค์กรสูญเสียเงินหรือรายได้บางส่วน
4. งานได้รับความเสียหาย ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล | 1. ประชาชนได้ต้องเสียค่าใช้จ่ายฃในการรรับบริการโดยไม่จำเป็น
2. ประชาชนได้รับการเหลื่อมล้ำในการขอรับบริการ | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: สำนักการคลัง |
73 | (not set) | (not set) | 15.5.5 การเบียดบังเวลาราชการ
| 1. ข้าราชการเห็นประโยชน์ส่วนตนสำคัญกว่าประโยชน์ของทางราชการ
2. ข้าราชการไม่รับผิดชอบงานในอำนาจหน้าที่และไม่มีวินัยในการปฏิบัติงาน
3. ข้าราชการเห็นว่าเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
4. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง
|  6 |  2 |  4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. งานในความรับผิดชอบไม่บรรลุผลสำเร็จ
2. งานไม่มีประสิทธิภาพ
3. ภาพลักษณ์องค์กรเสียหาย
4. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี หากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ)
5. ประชาชนได้รับบริการที่ไม่มีคุณภาพอย่างที่ควรจะเป็น | - | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก.เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
74 | (not set) | (not set) | 15.5.4 การใช้ทรัพย์สินของทางราชการอย่างไม่เหมาะสมเช่น นำไปใช้ส่วนตัว สำรองห้องพักของโรงพยาบาลให้กับญาติและคนรู้จัก ฯลฯ
| 1. ผู้มีอำนาจหน้าที่ในการอนุมัติควบคุม ครอบครอง และรักษาทรัพย์สิน ไม่ปฏิบัติหน้าที่อย่างเคร่งครัด
2. ความสนิทสนมส่วนบุคคลระหว่างเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจึงละเว้นหรือไม่ปฏิบัติตามระบบการควบคุมที่กำหนดไว้
3. ความไว้วางใจ ขาดการติดตามและกำกับดูแลอย่างใกล้ชิด
4. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจหน้าที่ในการละเมิดการควบคุม
5. ผู้บังคับบัญชาและข้าราชการที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบงานด้านดังกล่าวร่วมมือกัน เพราะมีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีผลต่อความก้าวหน้าในตำแหน่ง
6. ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทำทุจริต
7. กระแสวัตถุนิยมในสังคม
8. ได้รับมอบหมายให้ดูแลรับผิดชอบสินทรัพย์ที่มีมูลค่าสูงซึ่งเป็นสิ่งล่อใจ
9. ข้าราชการผู้รับผิดชอบมีปัญหาส่วนตัวทางด้านการเงิน เช่น ติดการพนัน มีภาระหนี้สิน ฯลฯจึงไม่สามารถซื้อทรัพย์สินที่เป็นของตนเองได้
10. ข้าราชการเห็นเป็นเรื่องปกติเคยชิน และปฏิบัติตามกันมา
11. ไม่เคยเห็นข้าราชการที่ทำทุจริตได้รับการลงโทษอย่างจริงจัง
|  12 |  9 |  3 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ทรัพย์สินของทางราชการชำรุดและเสียหาย
2. สิ้นเปลืองงบประมาณ
3. สูญเสียโอกาสในการใช้งานทรัพย์สิน เพื่อให้เกิดประโยชน์กับราชการ
4. งานขององค์กรได้รับความเสียหาย
5. งานไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
6. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดีหากไม่มีการลงโทษอย่างจริงจัง (พฤติกรรมเลียนแบบ) | (not set) | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก.เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
75 | (not set) | (not set) | 14.2.10 ปัญหาคุณภาพชีวิตของข้าราชการและลูกจ้างในหน่วยงาน
| 1) ปริมาณงานที่สะสมเป็นจำนวนมาก
2) ผู้บริหารให้ความสำคัญกับการให้บริการประชาชนและผลสัมฤทธิ์ของงานมากกว่าคุณภาพชีวิตของเจ้าหน้าที่
3) การขาดอัตรากำลัง ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานต้องทำงานหนักเกินเวลาการปฏิบัติงานเป็นประจำ
|  20 |  9 |  11 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. เกิดภาวะความเครียดในการปฏิบัติงาน
2. ชีวิตประจำวันไม่สมดุล เพราะขาดการออกกำลังกาย
3. เกิดโรคภัยไข้เจ็บ
4. เกิดปัญหาครอบครัว | (not set) | 20 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | สำนักงาน กก |
76 | (not set) | (not set) | 15.5.8 งานตามนโยบายที่หน่วยงานนำมาปฏิบัติอย่างไม่ถูกต้องไม่เหมาะสม และอาจจะเป็นกรณีทุจริต
| 1. งานตามนโยบายที่ไม่มีงบประมาณสนับสนุน แต่หน่วยงานจะต้องดำเนินการ
2. ข้าราชการและผู้ค้าพัสดุที่จะนำมาใช้ในการปฏิบัติงานมีความสนิทสนมและคุ้นเคยกัน
3. ผู้บริหารหรือผู้บังคับบัญชาสั่งการให้หน่วยงานปฏิบัติอย่างไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
4. หน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ริเริ่มเสนอโครงการที่จะดำเนินการจึงไม่มีความพร้อมและไม่ได้เตรียมการใด ๆ ไว้ก่อน
|  9 |  4 |  5 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. หน่วยงานต้องไปขอรับการสนับสนุนอุปกรณ์จากหน่วยงานอื่น หรือบริษัทเอกชน
2. หน่วยงานอื่นหรือบริษัทที่ให้การสนับสนุนพัสดุและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน นำประเด็นดังกล่าวมาเป็นเงื่อนไขขอรับประโยชน์ต่าง ๆจากกรุงเทพมหานคร
3. งานไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเท่าที่ควร
4. ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหาย
5. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี | - | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
77 | (not set) | (not set) | 15.5.9 การเบิกค่าอาหารทำการนอกเวลาอย่างไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม เช่นขอเบิกแต่ไม่ได้มาปฏิบัติงานจริง การลงชื่อแทนกัน ฯลฯ
| 1. ผู้บังคับบัญชาไม่ได้ควบคุมการดำเนินงานด้านดังกล่าวอย่างเคร่งครัด
2. ค่าตอบแทนที่องค์กรให้ไม่เพียงพอกับค่าครองชีพ
3. ข้าราชการและบุคลากรของกรุงเทพมหานครขาดจิตสำนึกในการปฏิบัติงาน
|  9 |  4 |  5 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. สูญเสียงบประมาณไปโดยเปล่าประโยชน์
2. ภาพลักษณ์ขององค์กรเสียหาย
3. สร้างวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่ดี | (not set) | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | 4 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักงาน ก.ก. เจ้าภาพร่วม: - สำนักการคลัง |
78 | (not set) | (not set) | 2.1 การปฏิบัติงาน ดับเพลิงทำได้ยากและลำบาก
| 9) สภาพอาคาร เก่า ดัดแปลงและใช้งานผิดประเภทเนื่องจากเจ้าของอาคารขนาดใหญ่อาคารสูง ตึกแถว อาคารพาณิชย์ดัดแปลงอาคารในภายหลัง และใช้งานไม่ตรงตามวัตถุประสงค์และกฎหมายที่กำหนด เช่น ดัดแปลงเป็นห้องเช่าจำนวนหลายห้อง ทำให้ใช้ไฟฟ้าเกินขนาด สร้างห้องเก็บของที่มีสิ่งของจำนวนมากเกะกะขวางทางและเป็นเชื้อเพลิงอย่างดี ฯลฯ ตลอดจนไม่บำรุงรักษาอาคารให้อยู่ในสภาพที่ดี
|  16 |  6 |  10 | E (environment)- สิ่งแวดล้อม | 1. เมื่อเกิดเหตุจะเพิ่มความรุนแรงเช่น อาคารพาณิชย์ที่ดัดแปลงเป็นห้องพักให้เช่าจำนวนหลายห้อง ความเสียหายจะเกิดกับคนจำนวนที่มากขึ้น
2. ยากต่อการควบคุมเพลิง ทำให้ระงับเหตุได้ช้าลง ความเสียหายเพิ่มขึ้น
| 1. ความล่าช้าในการระงับเหตุ ทำให้เกิดความเสียหายกับชีวิตและทรัพยสินของประชาชนในวงกว้างมากขึ้น
2. ประชาชนบริเวณโดยรอบสถานที่เกิดเหตุได้รบผลกระทบในการดำเนินชีวิตประจำวันมากขึ้น ยาวนานขึ้น | 16 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | เจ้าภาพหลัก : - สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
79 | (not set) | (not set) | 14.2.4 ความผิดพลาดคลาดเคลื่อนในการพิจารณาคุณสมบัติของผู้สมัครรับการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน
| 1) การเจ้าหน้าที่ประจำส่วนราชการในสังกัดสำนักปลัดกรุงเทพมหานครสำนักและสำนักงานเขตมีความเข้าใจผิดในการพิจารณาคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งของผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเพื่อเลื่อนและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภททั่วไประดับชำนาญงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งและการดำรงตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานเกี่ยวข้องและเกื้อกูลกันไม่ได้คัดกรองคุณสมบัติผู้สมัครฯ ก่อนเสนอผู้บังคับบัญชาลงนามเพื่อจัดส่งเอกสารให้สำนักงานการเจ้าหน้าที่
2) หลักเกณฑ์การรับสมัครไม่ชัดเจน
|  6 |  2 |  4 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | 1. ผู้สมัครคัดบุคคลไม่ได้รับคำตอบหรือข้อมูลที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน จึงเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
2. เพิ่มภาระการตอบข้อสงสัยให้กับสำนักงาน ก.ก. และ สำนักงานการเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงาน
3. การเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานเขต ขาดความน่าเชื่อถือ ไม่สามารถเป็นที่ปรึกษาให้แก่ข้าราชการและบุคลากรกรุงเทพมหานครได้
4. เกิดข้อร้องเรียนในประเด็นที่ผู้สมัครคัดเลือกฯ มีข้อสงสัย
5. ทำให้ผู้สมัครฯ เสียสิทธิ์ในการคัดเลือก
6. หลักเกณฑ์ไม่ชัดเจนทำให้ ผู้ปฏิบัติขาดความเข้าใจที่ถูกต้อง | (not set) | 6 | ระดับความเสี่ยงปานกลาง | 2 | ระดับความเสี่ยงต่ำ | สกก สกจ |
80 | (not set) | (not set) | 15.3 ด้านการก่อหนี้และบริหารหนี้กรุงเทพมหานครอาจจะไม่มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการก่อหนี้เงินกู้สำหรับโครงการขนาดใหญ่การบริหารหนี้เงินกู้ไม่มีประสิทธิผล
| 1.ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร/หน่วยงานอาจจะไม่ทราบสถานะทางการคลังอย่างต่อเนื่องจึงไม่ได้กำหนดแนวทางที่ชัดเจนและก่อหนี้เงินกู้เกินความสามารถด้านการคลังของและหรืออาจจะไม่สามารถชำระหนี้เงินกู้ตามที่กำหนดในสัญญา
2.การบริหารการกู้เงินมีการกำหนดหลักเกณฑ์ไว้ในกฎหมายหลายฉบับ ซึ่งอาจทำให้เกิดข้อผิดพลาดได้
|  12 |  9 |  3 | G (goverment)- ธรรมภิบาล | - | - | 12 | ระดับความเสี่ยงสูงมาก | 9 | ระดับความเสี่ยงสูง | - สำนักการคลัง(สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กองรายได้ กองบัญชี) |