รายละเอียดโครงการ
Showing 1-1 of 1 item.
File | ชื่อโครงการ/กิจกรรม | งบประมาณฯ | ความคืบหน้าฯ | หน่วยงานที่รับผิดชอบ | ส่วนราชการ/ฝ่าย |
---|---|---|---|---|---|
- | โครงการ BMA Net Zero | 0.00 | 100.00 | สำนักสิ่งแวดล้อม | กองนโยบายและแผนงาน |
KRs/KPI ที่เกี่ยวข้อง
Showing 1-2 of 2 items.
Action | KEY_RESULT | หน่วยนับ | ค่าเป้าหมาย | ผลการดำเนินงาน | ความคืบหน้าของ KPI (%) |
---|---|---|---|---|---|
- | OKR 4.2.19 ลดการปล่อย GHG | tCO2e | 20,000.00 | 2,200.00 | 11.00 |
- | OKR 4.2.23 จำนวน Chiller ที่ได้รับการปรับปรุง | เครื่อง | 6.00 | 6.00 | 100.00 |
** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **
Showing 1-14 of 14 items.
วันที่รายงาน | ผลการดำเนินงาน | Photo | REPORT_NOTE | เชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวข้องฯ |
---|---|---|---|---|
18-03-2024 | 6.00 | ความร่วมมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ระยะเวลาการดำเนินการ 1 ปี สำนักการโยธา กรุงเทพมหานครได้เข้าร่วมการตรวจวัดประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโครงการที่ปรึกษาพลังงาน กฟผ. โดยจะตรวจวัดการใช้พลังงานของอาคารไอราวัตพัฒนาเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้พลังงานก่อนและหลังการปรับเปลี่ยน/ซ่อมแซม อุปกรณ์เครื่องทำความเย็น (Chiller) จำนวน 6 เครื่อง ซึ่ง กฟผ. ได้เข้ามาสำรวจและติดตั้งอุปกรณ์เพื่อตรวจวัดประสิทธิภาพของเครื่องทำความเย็นและเก็บข้อมูลการใช้พลังงานการก่อนการปรับเปลี่ยนและซ่อมแซมอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2566 | ||
30-04-2024 | 0.00 | ความร่วมมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ระยะเวลาการดำเนินการ 1 ปี สำนักการโยธา กรุงเทพมหานครได้เข้าร่วมการตรวจวัดประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโครงการที่ปรึกษาพลังงาน กฟผ. โดยจะตรวจวัดการใช้พลังงานของอาคารไอราวัตพัฒนาเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้พลังงานก่อนและหลังการปรับเปลี่ยน/ซ่อมแซม อุปกรณ์เครื่องทำความเย็น (Chiller) จำนวน 6 เครื่อง ซึ่ง กฟผ. ได้เข้ามาสำรวจและติดตั้งอุปกรณ์เพื่อตรวจวัดประสิทธิภาพของเครื่องทำความเย็นและเก็บข้อมูลการใช้พลังงานการก่อนการปรับเปลี่ยนและซ่อมแซมอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2566 | ||
30-04-2024 | 2,200.00 | - โครงการความร่วมมือกับการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) โดยสำรวจอาคารที่มีศักยภาพในการติดตั้ง solar rooftop จำนวน 69 แห่ง พบว่ามีอาคารที่สามารถดำเนินการได้จำนวน 56 แห่ง มีขนาดกำลังการผลิตไฟฟ้าสูงสุดรวมกันทุกอาคารไม่น้อยกว่า 5 เมกกะวัตต์ ประกอบด้วย 1) โรงควบคุมคุณภาพน้ำ จำนวน 7 แห่ง และศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ 1 แห่ง ขนาดกำลังการผลิตประมาณ 1.6 เมกะวัตต์ 2) สำนักงานเขต จำนวน 37 แห่ง ขนาดกำลังการผลิต ประมาณ 4.5 เมกะวัตต์ 3) อาคารศาลาว่าการกรุงเทพมหานครทั้ง 2 แห่ง ขนาดกำลังการผลิตรวมประมาณ 1.3 เมกะวัตต์ และ 4) โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง ซึ่งสำนักการแพทย์ดำเนินการติดตั้ง solar rooftop ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ทั้งนี้ สำนักการโยธา อยู่ระหว่างขอเห็นชอบจากผู้บริหารในการทำสัญญาการดำเนินงานร่วมกับ กฟน. โดยระยะแรกจะดำเนินการติดตั้งบนหลังคาของโรงควบคุมคุณภาพน้ำ จำนวน 7 แห่ง และศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ 1 แห่ง ขนาดกำลังการผลิต 1,678 กิโลวัตต์พีค (kWp) คาดว่าสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ตลอด 25 ปี ประมาณ 24,000 tCO2e - โครงการความร่วมมือระหว่างสำนักการแพทย์และสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) โดยจะติดตั้ง solar rooftop ให้กับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ตามบันทึกความเข้าใจความร่วมมือการดำเนินงานในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2566 โดยโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานครเข้าร่วมดำเนินการฯ จำนวน 10 แห่ง งบประมาณ 79 ล้านบาท ขนาดกำลังการผลิตประมาณ 2.7 เมกกะวัตต์ สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 2,200 tCO2e ปัจจุบันสำนักการแพทย์อยู่ระหว่างจัดหาบริษัทผู้รับจ้างเพื่อดำเนินการติดตั้ง solar rooftop ทั้ง 9 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมี โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ โรงพยาบาลบางนา และโรงพยาบาลคลองสามวา เนื่องจากโรงพยาบาลลาดกระบังได้ขอยกเลิกการเข้าร่วมดำเนินการ และปัจจุบันโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ขอเข้าร่วมดำเนินการและอยู่ระหว่างขอเห็นชอบจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อลงนามในบันทึกข้อตกลงฯ | ||
27-05-2024 | 0.00 | กทม. โดยสำนักการโยธาอยู่ระหว่างลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการร่วมพัฒนาเมืองอัจฉริยะและร่วมพัฒนาโครงการด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กับ กฟน. ในวันที่ 30 พ.ค. 67 โดยในระยะแรกจะติดตั้งที่โรงควบคุมคุณภาพน้ำ จำนวน 7 แห่ง สามารถลดก๊าซเรือนกระจกได้ตลอด 25 ปี เท่ากับ 24,167 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า | ||
27-05-2024 | 0.00 | สำนักการโยธาอยู่ระหว่างปรับปรุงประสิทธิภาพ chiller จำนวน 6 เครื่อง | ||
30-06-2024 | 0.00 | สำนักการโยธาอยู่ระหว่างปรับปรุงประสิทธิภาพ chiller จำนวน 6 เครื่อง | ||
31-08-2024 | 0.00 | สำนักการโยธาอยู่ระหว่างปรับปรุงประสิทธิภาพ chiller จำนวน 6 เครื่อง | ||
31-07-2024 | 0.00 | โครงการความร่วมมือกับการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) โดยสำรวจอาคารที่มีศักยภาพในการติดตั้ง solar rooftop จำนวน 69 แห่ง พบว่ามีอาคารที่สามารถดำเนินการได้จำนวน 56 แห่ง มีขนาดกำลังการผลิตไฟฟ้าสูงสุดรวมกันทุกอาคารไม่น้อยกว่า 5 เมกกะวัตต์ ประกอบด้วย 1) โรงควบคุมคุณภาพน้ำ จำนวน 7 แห่ง และศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ 1 แห่ง ขนาดกําลังการผลิตประมาณ 1.6 เมกะวัตต์ 2) สำนักงานเขต จำนวน 37 แห่ง ขนาดกําลังการผลิต ประมาณ 4.5 เมกะวัตต์ 3) อาคารศาลาว่าการกรุงเทพมหานครทั้ง 2 แห่ง ขนาดกําลังการผลิตรวมประมาณ 1.3 เมกะวัตต์ และ 4) โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง ซึ่งสำนักการแพทย์ดำเนินการติดตั้ง solar rooftop ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ทั้งนี้ กทม. ได้ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงกับ กฟน. เมื่อวันที่ 30 พ.ค. 67 โดยระยะแรกจะดำเนินการติดตั้งบนหลังคาของโรงควบคุมคุณภาพน้ำ จำนวน 7 แห่ง และศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ 1 แห่ง ขนาดกำลังการผลิต 1,678 กิโลวัตต์พีค (kWp) คาดว่าสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ตลอด 25 ปี ประมาณ 24,000 tCO2e ปัจจุบันสำนักงานอัยการฯ อยู่ระหว่างตรวจร่างสัญญาเพื่อให้กรุงเทพมหานครและ กฟน. สามารถดำเนินการได้ นอกจากนี้ สำนักสิ่งแวดล้อมร่วมกับ กฟน. ได้ร่วมประชุมหารือเพื่อหาแนวทางในการติดตั้ง solar rooftop เพิ่มเติม ณ โรงคัดแยกขยะ โรงกำจัดขยะ และสวนสาธาร | ||
30-09-2024 | 0.00 | โครงการ BMA2 Net Zero Building - โครงการงานปรับปรุงระบบวิศวกรรมประกอบอาคารจอดรถชั้นใต้ดิน ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยเปลี่ยนหลอดไฟ LED ได้แก่ 1) 36 วัตต์ เป็น LED 18 วัตต์ จำนวน 3,634 หลอด 2) 70 วัตต์ เป็น LED 18 วัตต์ จำนวน 106 หลอด 3) 13 วัตต์ เป็น LED 9 วัตต์ จำนวน 58 หลอด รวมทั้งสิ้น 3,798 หลอด ลดก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 312 tCO2e - โครงการงานปรับปรุงระบบวิศวกรรมประกอบอาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยเปลี่ยนหลอดไฟ LED อยู่ระหว่างดำเนินการหาผู้รับจ้าง - โครงการความร่วมมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ระยะเวลาการดำเนินโครงการ 1 ปี กรุงเทพมหานครได้เข้าร่วมการตรวจวัดประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโครงการที่ปรึกษาพลังงาน กฟผ. โดยจะตรวจวัดการใช้พลังงานของอาคารไอราวัตพัฒนาเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้พลังงานก่อนและหลังการปรับเปลี่ยน/ซ่อมแซม อุปกรณ์เครื่องทำความเย็น (Chiller) จำนวน 6 เครื่อง ซึ่ง กฟผ. ได้เข้ามาสำรวจและติดตั้งอุปกรณ์เพื่อตรวจวัดประสิทธิภาพของเครื่องทำความเย็นและเก็บข้อมูลการใช้พลังงานการก่อนการปรับเปลี่ยนและซ่อมแซมอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2566 ปัจจุบันสำนักการโยธาอยู่ระหว่างปรับปรุงเครื่องทำความเย็น | ||
18-03-2024 | 0.00 | - โครงการความร่วมมือกับการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) โดยสำรวจอาคารที่มีศักยภาพในการติดตั้ง solar rooftop จำนวน 69 แห่ง พบว่ามีอาคารที่สามารถดำเนินการได้จำนวน 56 แห่ง มีขนาดกำลังการผลิตไฟฟ้าสูงสุดรวมกันทุกอาคารไม่น้อยกว่า 5 เมกกะวัตต์ ประกอบด้วย 1) โรงควบคุมคุณภาพน้ำ จำนวน 7 แห่ง และศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ 1 แห่ง ขนาดกำลังการผลิตประมาณ 1.6 เมกะวัตต์ 2) สำนักงานเขต จำนวน 37 แห่ง ขนาดกำลังการผลิต ประมาณ 4.5 เมกะวัตต์ 3) อาคารศาลาว่าการกรุงเทพมหานครทั้ง 2 แห่ง ขนาดกำลังการผลิตรวมประมาณ 1.3 เมกะวัตต์ และ 4) โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 9 แห่ง ซึ่งสำนักการแพทย์ดำเนินการติดตั้ง solar rooftop ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ทั้งนี้ สำนักการโยธา อยู่ระหว่างขอเห็นชอบจากผู้บริหารในการทำสัญญาการดำเนินงานร่วมกับ กฟน. โดยระยะแรกจะดำเนินการติดตั้งบนหลังคาของโรงควบคุมคุณภาพน้ำ จำนวน 7 แห่ง และศูนย์การเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมบางซื่อ 1 แห่ง ขนาดกำลังการผลิต 1,678 กิโลวัตต์พีค (kWp) คาดว่าสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ตลอด 25 ปี ประมาณ 24,000 tCO2e - โครงการความร่วมมือระหว่างสำนักการแพทย์และสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) โดยจะติดตั้ง solar rooftop ให้กับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ตามบันทึกความเข้าใจความร่วมมือการดำเนินงานในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2566 โดยโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานครเข้าร่วมดำเนินการฯ จำนวน 10 แห่ง งบประมาณ 79 ล้านบาท ขนาดกำลังการผลิตประมาณ 2.7 เมกกะวัตต์ สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 2,200 tCO2e ปัจจุบันสำนักการแพทย์อยู่ระหว่างจัดหาบริษัทผู้รับจ้างเพื่อดำเนินการติดตั้ง solar rooftop ทั้ง 9 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมี โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ โรงพยาบาลบางนา และโรงพยาบาลคลองสามวา เนื่องจากโรงพยาบาลลาดกระบังได้ขอยกเลิกการเข้าร่วมดำเนินการ และปัจจุบันโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ขอเข้าร่วมดำเนินการและอยู่ระหว่างขอเห็นชอบจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อลงนามในบันทึกข้อตกลงฯ | ||
31-07-2024 | 0.00 | สำนักการโยธาอยู่ระหว่างปรับปรุงประสิทธิภาพ chiller จำนวน 6 เครื่อง | ||
31-08-2024 | 0.00 | โครงการความร่วมมือระหว่างสำนักการแพทย์และสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) โดยจะติดตั้ง solar rooftop ให้กับโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ตามบันทึกความเข้าใจความร่วมมือการดำเนินงานในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2566 โดยโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานครเข้าร่วมดำเนินการฯ จำนวน 10 แห่ง งบประมาณ 79 ล้านบาท ขนาดกำลังการผลิตประมาณ 2.7 เมกกะวัตต์ สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 2,200 tCO2e ปัจจุบันสำนักการแพทย์อยู่ระหว่างจัดหาบริษัทผู้รับจ้างเพื่อดำเนินการติดตั้ง solar rooftop ทั้ง 9 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลสิรินธร โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมี โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ โรงพยาบาลตากสิน โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ โรงพยาบาลบางนา และโรงพยาบาลคลองสามวา เนื่องจากโรงพยาบาลลาดกระบังได้ขอยกเลิกการเข้าร่วมดำเนินการ โดยโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ ได้ขอเข้าร่วมดำเนินการเพิ่มเติมและอยู่ระหว่างขอเห็นชอบจากผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเพื่อลงนามในบันทึกข้อตกลงฯ - โครงการงานปรับปรุงระบบวิศวกรรมประกอบอาคารจอดรถชั้นใต้ดิน ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยเปลี่ยนหลอดไฟ LED ได้แก่ 1) 36 วัตต์ เป็น LED 18 วัตต์ จำนวน 3,634 หลอด 2) 70 วัตต์ เป็น LED 18 วัตต์ จำนวน 106 หลอด 3) 13 วัตต์ เป็น LED 9 วัตต์ จำนวน 58 หลอด รวมทั้งสิ้น 3,798 หลอด ลดก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 312 tCO2e - การชดเชย (Offset) - โครงการปลูกต้นไม้ 1 ล้านต้น และการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ปัจจุบันมีไม้ยืนต้นประมาณ 420,000 ต้น สามารถดูดซับก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 10,00 tCO2e (ต้นไม้ 1 ต้น ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 24 กิโลกรัม/ต้น/ปี) - การรับบริจาคคาร์บอนเครดิตจากภาคเอกชนเพื่อการชดเชยคาร์บอนของกรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาแนวทางที่เหมาะสมในการดำเนินโครงการ Carbon Credit | ||
30-06-2024 | 0.00 | - โครงการ City to City 1) แผนปฏิบัติการด้านพลังงานของกรุงเทพมหานคร (Energy Action Plan) ได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการกำกับฯ ที่มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นประธานเรียบร้อยแล้ว 2) การประชุมเปิดตัวโครงการ City-to-City Collaboration for Zero Carbon Society ปีที่ 3 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2567 โดยผู้แทนเมืองโยโกฮามาเดินทางมาร่วมประชุม ณ สำนักสิ่งแวดล้อม ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง 3) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “The 4th Workshop on Net Zero Emissions Business Opportunity under Bangkok-Yokohama City-to-City Program” ได้จัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2567 ณ โรงแรมแกรนด์ เซ็นเตอร์พ้อยต์ เทอมินอล21 โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครร่วมเปิดพิธีกับ นายทาเคฮารุ ยามานากะ (Mr. Takeharu Yamanaka) นายกเทศมนตรีโยโกฮามาในโอกาสเยือนกรุงเทพมหานคร เพื่อเปิดตัวและประชาสัมพันธ์แผนปฏิบัติการพลังงานกรุงเทพมหานคร (Bangkok Energy Action Plan) และการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของกรุงเทพมหานคร เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคาร์บอนต่ำและการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพื่อสนับสนุนการจับคู่ทางธุรกิจระหว่างภาคธุรกิจไทยและญี่ปุ่นในการดำเนินโครงการเพื่อการลดก๊าซเรือนกระจก 4) ข้อเสนอการพัฒนาโครงการลดก๊าซเรือนกระจกต่อกระทรวงสิ่งแวดล้อม ประเทศญี่ปุ่น ประจำปีงบประมาณ 2567 ที่เกี่ยวข้องกับกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 1. การเปลี่ยนระบบปรับอากาศประสิทธิภาพสูงทดแทนเครื่องเก่าของอาคารในสังกัดกรุงเทพมหานคร 2. การพัฒนาโครงการต่าง ๆ ภายใต้กลไกเครดิตร่วม (Joint Crediting Mechanism: JCM) 3. การนำร่องทดลองใช้รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า (e-bike) ของบริษัทญี่ปุ่น 4. การพัฒนาระบบขนส่งด้วยกระเช้าลอยฟ้า (Urban Cableway) 5. การซ่อมแซมและรีไซเคิลคอมพิวเตอร์ 5) การประชุม Asia Smart City Conference ครั้งที่ 13 (13th ASCC) ณ เมืองโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น มีกำหนดจัดขึ้นในช่วงเดือนตุลาคม 2567 เพื่อเป็นเวทีให้เมืองในภูมิภาคเอเชีย ผู้แทนภาครัฐบาลและเอกชน และผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรและสถาบันระหว่างประเทศ ได้ร่วมหารือแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ในการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ทั้งนี้เมืองโยโกฮามาคาดว่าจะเรียนเชิญผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว 6) ผู้เชี่ยวชาญญี่ปุ่นอยู่ระหว่างการหารือกับคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานตามแผนแม่บทกรุงเทพมหานครฯ ด้านการจัดการขยะและบำบัดน้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพ ในการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะและน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร โดยได้จัดประชุมการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2567 | ||
30-09-2024 | 0.00 | สำนักการโยธาอยู่ระหว่างปรับปรุงประสิทธิภาพ chiller จำนวน 6 เครื่อง |
ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม
Showing 1-1 of 1 item.
ลำดับ | ขั้นตอน/รายละเอียดงาน | ร้อยละของงาน | ความคืบหน้า | เริ่มต้นวันที่ | สิ้นสุดวันที่ |
---|---|---|---|---|---|
1 | ดำเนินการโครงการตามเป้าหมาย | 100.00 | 100.00 | 01-10-2023 | 30-09-2024 |
** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **
Showing 1-4 of 4 items.
วันที่รายงาน | ผลการดำเนินงาน | REPORT_NOTE |
---|---|---|
30-06-2024 | 100.00 | (not set) |
31-07-2024 | 100.00 | (not set) |
31-08-2024 | 100.00 | (not set) |
30-09-2024 | 100.00 | (not set) |